Page 34 - 2563
P. 34

หมวด 2 กลยุทธ์

                       (3) การพิจารณากลยุทธ์
                                                                                                ้
                       ส ำนักฯ โดยคณะกรรมกำร TQA ด ำเนินกำรทบทวนกระบวนกำรวำงแผนกลยุทธโดยใชสำรสนเทศ
                                                                                           ์
                                                       ิ
               จำกระบบสำรสนเทศของส ำนกฯ ซึ่งเป็นระบบวเครำะห์ประมวลผลขอมูลทั้งระบบของส ำนักฯ ประกอบด้วย
                                                                         ้
                                        ั
               ขอมูลกำรบริหำร ขอมูลกำรปฏบัติงำนและขอมูลกำรบริกำร และในขนตอนสุดท้ำยจึงน ำสำรสนเทศดังกล่ำว
                 ้
                                                                          ั้
                                ้
                                                     ้
                                          ิ
               เข้ำที่ประชุมคณะกรรมกำร TQA เพื่อก ำหนดควำมท้ำทำยและควำมได้เปรียบเชิงกลยุทธ์และโอกำสเชิงกลยุทธ ์
               ใหม่ (ตำรำงที่ 2.1-03)
                       ทั้งนี้ส ำนักฯ ก ำหนดให้มีกำรพิจำรณำถงกำรเปลี่ยนแปลงในอนำคตเกี่ยวกับกฎหมำยต่ำง ๆ  ใน
                                                         ึ
               กระบวนกำรวำงแผนกลยุทธ์ในขั้นตอนที่ 1 กระบวนกำรท ำ SWOT Analysis  และน ำแผนกลยุทธ์ เสนอต่อที่
               ประชุมคณะกรรมกำร Board เพื่อให้ข้อเสนอแนะก่อนน ำมำปฏิบัติ
               ตารางที่ 2.1-03 ควำมท้ำทำยเชิงกลยุทธ์ ควำมได้เปรียบเชงกลยุทธ์และโอกำสเชิงกลยุทธ  ์
                                                                ิ
                    ด้าน            ความท้าทายเชิงกลยุทธ์      ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์     โอกาสเชิงกลยุทธ์

                พันธกิจ:     SC1: กำรรักษำควำมเป็นผู้น ำในกำรบริกำร  SA1: องค์ควำมรู้และสื่อกำร  SO1: รูปแบบกำรบริกำรห้องสมุด
                                                                                                      ี่
                บริกำร       องค์ควำมรู้จำกฐำนข้อมูลจังหวัดชำยแดน  เรียนรู้เกี่ยวกับจังหวัดชำยแดน ตำมควำมต้องกำรที่เปลยนแปลงไป
                สำรสนเทศ     ภำคใต้ได้อย่ำงต่อเนื่อง          ภำคใต้                  SO5: รูปแบบกำรบริกำรสู่กำรเป็น
                และสื่อกำร   SC2: กำรพัฒนำสู่กำรเป็น Digital Library                  Maker Space
                เรียนรู้     ที่ตอบโจทย์ควำมต้องกำรของผู้ใช้บริกำร
                             SC11: กำรพัฒนำสู่กำรเป็นส ำนักงำน
                             สีเขียว
                กำรปฏิบัติกำร  SC3: กำรพัฒนำกระบวนกำรท ำงำนและ  SA5: กำรปรับรูปแบบกำร  SO3: กำรวิเครำะห์ Big Data เพื่อ
                             บริกำรให้สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรที่ บริกำรที่หลำกหลำย   กำรบริหำรจัดกำรและกำรบริกำร
                             หลำกหลำยของผู้ใช้บริกำร                                  เชิงพำณิชย์
                             SC7: กำรจัดกำรสภำพแวดล้อมในกำร
                             เรียนรู้ที่มีประสิทธิภำพ
                ควำม         SC9: กำรพัฒนำศักยภำพกำรเรียนรู้ของ  SA7: เป็นแหล่งสำรสนเทศหลัก SO6: ควำมต้องกำรของชุมชนต่อ
                รับผิดชอบ    ชุมชนให้เกิดประสิทธิผล และท ำให้ชุมชน  ของชุมชน          นวัตกรรมที่เป็นสมรรถนะหลักของ
                ต่อสังคม     เข้มแข็งอย่ำงยั่งยืน             SA8: เป็นแหล่งเรียนรู้ด้ำน  องค์กรเพื่อน ำไปสู่กำรเพิ่มรำยได้
                                                              พลังงำนสะอำด            SO7: กำรพัฒนำสื่อกำรเรียนรู้เชิง
                                                                                      พำณิชย์เพื่อตอบสนองควำม
                                                                                      ต้องกำรของชุมชน
                                                                                      SO8: เป็นศูนย์กลำงกำรพัฒนำด้ำน
                                                                                      พลังงำนสะอำดแก่สังคมและชุมชุน
                ทรัพยำกร     SC6: กำรเพิ่มขีดควำมสำมำรถของบุคลำกร SA3: บุคลำกรมีทักษะด้ำนกำร  SO4: กำรส่งเสริมให้บุคลำกรม ี
                บุคคล        สู่กำรเป็น Team Excellence และพร้อม  พัฒนำโปรแกรม        ทักษะที่จ ำเป็นและเป็นควำม
                             รับกำรเปลี่ยนแปลงในอนำคต         SA4: บุคลำกรมีควำมเชี่ยวชำญ ต้องกำรในอนำคต และพร้อมรับ
                                                              ทำงวิชำชีพที่หลำกหลำย   กำรเปลี่ยนแปลง
                                                              SA6: บุคลำกรมีแนวคิด
                                                              นวัตกรรม
                ระบบบริหำร   SC4: กำรพัฒนำระบบส ำนักงำนอัจฉริยะ  SA2: ระบบสำรสนเทศ    SO2: PSU Library 1 System
                จัดกำรองค์กร  เพื่อกำรบริหำรและกำรตัดสินใจ (OAR   5 วิทยำเขต
                             Smart Office)
                             SC5: กำรเพิ่มรำยได้ให้สำมำรถพึ่งพำตนเอง
                             ได้อย่ำงยั่งยืน
                             SC8: กำรพัฒนำนวัตกรรมเชิงพำณิชย์





                                                           24
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39