Page 49 - 2558
P. 49
ระดับ ประเภทข้อมูลและ แหล่งที่มาข้อมูล ความถี่ ผู้รวบรวม
สารสนเทศ
ข้อมูลด้านความเสี่ยง ผลการประเมินรายงานการด าเนินงานประจ าปี 6 เดือน งานวางแผน
และบริหารความ ครั้ง
ต่อเนื่อง
ข้อมูลด้านการจัดการ ระบบถังความคิดสู่การพัฒนานวัตกรรม ทุก 2 คณะกรรมการส่งเสริม
นวัตกรรม (http://innovation.oas.psu.ac.th) เดือน และพัฒนานวัตกรรม
ข้อมูลด้านการจัดการ ระบบสารสนเทศด้านการจัดการความรู้ (http://km.oas.psu.ac.th) ทุก 6 คณะกรรมการจัดการ
ความรู้ เดือน ความรู้
ข้อมูลความปลอดภัย ระบบสารสนเทศจากซอฟต์แวร์ Net-I-Viewer ทุกวัน งาน IT
KPIs ระดับบุคคล ระบบลงรายการปฏิบัติงาน(http://tor.psu.ac.th) 6 เดือน o ทีมบริหาร
ครั้ง o งานบุคคล
บุคคล ความพึงพอใจของ ระบบประเมินความพึงพอใจบุคลากรต่อส านักงานเลขานุการ ปีละครั้ง o ทีมบริหาร
บุคลากร (http://secret.oas.psu.ac.th/poll) o งานบุคคล
ระบบประเมินความพึงพอใจของบุคลากรต่อองค์กร
(http://evaluation.oas.psu.ac.th/)
ความผูกพันของ ระบบประเมินความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กร ปีละครั้ง o ทีมบริหาร
บุคลากร (http://evaluation.oas.psu.ac.th/) o งานบุคคล
ภาพประกอบที่ 4.1-02 การรวบรวมข้อมูลที่สนับสนุนและติดตามผลการด าเนินงาน
(2) ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ
รูปแบบการจัดการข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบที่ส าคัญของส านักวิทยบริการ ด าเนินการโดยผู้บริหาร
ิ
ระดับสูงก าหนดนโยบายในการคัดเลือกข้อมูลและสารสนเทศเชงเปรียบเทียบที่ส าคัญ และมอบหมายให้
ิ
คณะกรรมการพัฒนาระบบคุณภาพด าเนินการคัดเลือกข้อมูลและสารสนเทศเชงเปรียบเทียบที่ส าคัญโดย
ิ
พิจารณาจาก (1) ปัจจัยที่มีผลต่อความส าเร็จของแผนกลยุทธ์ (2) วัตถุประสงค์เชงกลยุทธ์ และ (3)
ความสามารถในการแข่งขันกับคู่เทียบที่ก าหนดใน OP น าข้อมูลเปรียบเทียบมาใช้ในการก าหนดค่าคาดการณ์
และให้ผู้ที่เกี่ยวข้องน าไปใชในการก าหนดเป้าหมายระดับองค์กรลงสู่ระดับฝ่าย ระดับงาน และระดับบุคคล
้
้
โดยด าเนินการปีละครั้ง ในระดับปฏิบัติการน าข้อมูลเชิงเปรียบเทียบมาใชในการปรับปรุงกระบวนการท างาน
และค้นหาโอกาสในการสร้างนวัตกรรมทุก 6 เดือน โดยก าหนดเป้าหมายค้นหาและสร้างเครื่องมือในการ
ปรับปรุงกระบวนการท างานและสร้างนวัตกรรม จากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในองค์กรและคู่เทียบ
และน าเครื่องมือ LEAN, PDCA-Par, Kaizen มาใชปรับปรุงกระบวนการท างานให้มีประสิทธิภาพและ
้
ประสิทธิผลที่ดีขึ้น จากนั้นทีมบริหารทบทวนแหล่งข้อมูล
(3) ข้อมูลลูกค้า
ื่
ิ
ส านักวิทยบริการมีระบบสารสนเทศเพอการบรหารจัดการลูกค้าสัมพนธ์ (OAR-CRM System)
ั
้
้
http://jfk.oas.psu.ac.th/train โดยจัดเก็บข้อมูลผู้ใชบริการจาก (1) กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ผู้ใชบริการ
และ (2) กิจกรรมส่งเสริมความรู้และอบรมให้กับผู้ใช้บริการที่ส านักวิทยบริการก าหนดในแต่ละปี โดยผู้บริหาร
้
น าข้อมูล/สารสนเทศผู้ใชบริการจากกิจกรรมที่ด าเนินการ จากข้อมูลการรับฟังเสียงลูกค้า (ภาพประกอบที่
3.1-01) ข้อมูลจากการประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของผู้ใช้บริการ (ภาพประกอบที่ 3.1-02) ข้อมูล
จากข้อร้องเรียน (ภาพประกอบที่ 3.2-05) และข้อมูลจากระบบประเมินออนไลน์ OAR-OES: Online
Evaluation System (http://evaluation.oas.psu.ac.th) มาวิเคราะห์เปรียบเทียบผลของกิจกรรมสร้าง
้
ความสัมพันธ์และกิจกรรมส่งเสริมความรู้/อบรมแยกตามกลุ่มผู้ใชบริการ และวิเคราะห์แนวโน้มด้านบริการ
รายงานวิธีการและผลการด าเนินงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ 2558 ส านักวิทยบริการ ม.อ.ปัตตานี
41