Page 53 - 2558
P. 53
ผลการด าเนินการ การเทียบคาดการณ์ การปรับค่าความแตกต่างที่ยอมรับได้ ผลการทบทวนผลการด าเนินการ
ผลการด าเนินการ
ตามแผนระยะสั้น: ต่ ากว่าการคาดหมาย วิเคราะห์หาสาเหตุและก าหนดแผนใน แผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับ
แผนการปฏิบัติการ การพัฒนา เป้าหมาย KPIs ใหม่
สูงกว่าการคาดหมาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวปฏิบัติที่ดี
เป็นไปตามคาดหมาย ก าหนดเป้าหมายให้ท้าทาย เป้าหมาย KPIs ที่ท้าทาย
ตามแผนระยะยาว: ต่ ากว่าการคาดหมาย ทบทวนวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์พัฒนา แผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับเป้าหมาย
แผนกลยุทธ์ งาน KPIs ใหม่
สูงกว่าการคาดหมาย พัฒนานวัตกรรม เป้าหมาย KPIs ด้านนวัตกรรม
เป็นไปตามคาดหมาย ก าหนดเป้าหมายให้ท้าทาย เป้าหมาย KPIs ระดับสูงขึ้น
ผลการด าเนินการเทียบคู่เทียบ ต่ ากว่าการคาดหมาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป้าหมาย KPIs ที่ท้าทาย
สูงกว่าการคาดหมาย จัดท าแนวปฏิบัติที่ดี แนวปฏิบัติที่ดี
เป็นไปตามคาดหมาย ก าหนดความเป็นเลิศให้สูงขึ้นและ เป้าหมาย KPIs ระดับสูงขึ้น
ก าหนดแผนในการพัฒนา
ภาพประกอบที่ 4.1-06 วิธีการใช้ผลการทบทวนผลการด าเนินการและการปรับค่าความแตกต่าง
(3) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและนวัตกรรม
ผู้บริหารและคณะกรรมการพัฒนาระบบคุณภาพ น าผลการทบทวนผลการด าเนินการในภาพประกอบที่
้
4.1-04 ที่ใชวีธีการในภาพประกอบที่ 4.1-06 เพื่อคาดการณ์ผลการด าเนินการในอนาคตและในการปรับ
ค่าความแตกต่างแล้วนั้น คณะกรรมการน าผลการทบทวนผลการด าเนินการดังกล่าวมาจัดล าดับความส าคัญ
ของตัวชี้วัดใดที่ต้องน าไปปรับปรุงอย่างเร่งด่วน ตัวชี้วัดใดต้องปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง รวมถึงพิจารณาตัวชี้วัดใด
ี้
จะน าไปสู่การพัฒนาเป็นตัวชวัดด้านนวัตกรรม [6.1ค] และถ่ายทอดตัวชวัดที่แก้ไขปรับปรุงไปสู่ระดับฝ่ายและ
ี้
่
ระดับปฏิบัติการ ผ่านแผนปฏิบัติการประจ าปี [6.1ข(1)] และการน ากระบวนการไปปฏิบัติ [6.1ข(1)] ด้วยชอง
ทางการสื่อสารในภาพประกอบที่ 1.1-05 และด าเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตัวชี้วัดที่ปรับปรุงกับคู่เทียบ
4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ก. ความรู้ขององค์กร
(1) การจัดการความรู้
้
ส านักวิทยบริการมีการจัดการความรู้โดยใชแนวทาง 7 ขั้นตอนของ กพร. มีคณะกรรมการจัดการความรู้ที่มี
บทบาทหน้าที่ (1) ทบทวนและจัดท าแผนการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ และประชาสัมพันธ ์
เผยแพร่ให้บุคลากรของส านักวิทยบริการทราบ (2) ด าเนินการตามแผนการจัดการความรู้และแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ให้ประสบผลส าเร็จ และ (3) ติดตามและประเมินผลส าเร็จการจัดการความรู้และน าผลการประเมินไป
ปรับใชในการพัฒนากระบวนการจัดการความรู้ให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนงานปกติ และปรับปรุงแผนการ
้
จัดการความรู้อย่างต่อเนื่อง เมื่อด าเนินการจัดการความรู้แล้วมีการบันทึกความรู้ลงในเว็บไซต์การจัดการความรู้
(http://km.oas.psu.ac.th) และในระบบอินทราเน็ต Virtual Office (http://vo.oas.psu.ac.th) เพื่อการ
เรียนรู้ร่วมกัน รวมทั้งเผยแพร่องค์ความรู้จากการจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการพัฒนางาน ดังภาพประกอบ
ที่ 4.2-01
รายงานวิธีการและผลการด าเนินงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ 2558 ส านักวิทยบริการ ม.อ.ปัตตานี
45