Page 44 - GL004
P. 44

สําหรับสภาวะการดําเนินงานในระดับการศึกษาขั้นอุดมศึกษานั้น ปรากฏวาสถาบัน
                 การศึกษาในระดับอุดมศึกษามีการใหความสําคัญกับความรูดานสิ่งแวดลอมและสิ่งแวดลอมศึกษา
                 มากขึ้นเปนลําดับ ทั้งในดานจัดการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษา และกิจกรรมเสริมหลักสูตร
                 สําหรับนิสิตนักศึกษา อยางไรก็ดี สิ่งแวดลอมศึกษายังไมไดเปนวิชาบังคับ แตเปนรายวิชาเลือก

                 ในบางคณะ โดยเฉพาะคณะครุศาสตรและคณะศึกษาศาสตร สวนในระดับปริญญาโทมีสาขา
                 สิ่งแวดลอมศึกษาเปดสอนในมหาวิทยาลัยเปนสวนใหญ
                        นอกจากนี้ สถาบันอุดมศึกษามีสวนรวมในโครงการดานสิ่งแวดลอมตางๆ โดยมีทั้งที่เปน
                 การรวมมือระหวางมหาวิทยาลัย และรวมมือกับโรงเรียน ชุมชน องคปกครองสวนทองถิ่น หนวยงาน
                 ภาครัฐและองคกรเอกชนตางๆ ดังนี้
                        1.  ความรวมมือกันระหวางสถาบันในลักษณะเปนเชิงจัดตั้ง ไดแก
                          •  สมาคมสถาบันอุดมศึกษาสิ่งแวดลอมไทย เปนความรวมมือของมหาวิทยาลัยตางๆ

                 จากทุกภูมิภาคของประเทศที่จัดการเรียนการสอนดานสิ่งแวดลอม จดทะเบียนเปนสมาคมเมื่อเดือน
                 มีนาคม พ.ศ. 2548 เพื่อรวมมือกันพัฒนาและแกไขปญหาสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบและยั่งยืน
                 กิจกรรมของสมาคมในดานการเรียนการสอน ไดแก การพัฒนามาตรฐานหลักสูตรการเรียนการสอน
                 ดานสิ่งแวดลอม การแลกเปลี่ยนทางวิชาการ สงเสริมการพัฒนาหลักสูตรในระดับตํากวาปริญญาตรี
                 สนับสนุนการสรางเครือขายทางดานสิ่งแวดลอม ดานกิจกรรมพัฒนาศักยภาพและเสริมสราง
                 ความสามารถบุคลากร รวมทั้งพัฒนาวิชาชีพนักสิ่งแวดลอมเพื่อรับใชสังคม สําหรับดานบริการวิชาการ
                 แกสังคมนั้นก็เชน การฝกอบรม การเผยแพรขอมูลผานสื่อตางๆ ตลอดจนดานความรวมมือกับ
                 ตางประเทศ สมาชิกของสมาคมมีทั้งที่เปนสถาบัน บุคคลในสถาบัน ตลอดจนนิสิตนักศึกษาและ
                 บุคคลทั่วไป ซึ่งปจจุบันมีสมาชิกประเภทสถาบัน 31 แหง และสมาชิกประเภทบุคคล 435 คน

                        2.  ความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยกับโรงเรียนและชุมชน  และหนวยงานภาครัฐ
                 ตัวอยางเชน
                          •  คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล รวมมือกับองคการบริหาร
                 สวนจังหวัดสมุทรสาคร จัดโครงการ “โรงเรียนสิ่งแวดลอมขององคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสาคร”
                 ซึ่งเปนรูปแบบหนึ่งของการเรียนรูที่ใหผูเรียนไดฝกฝนทักษะในการคิดวิเคราะหหาเหตุผล ตลอดจน
                 สามารถแกไขปญหาไดในเบื้องตน โดยศึกษาจากประสบการณจริงในภาคสนาม เปนหลักสูตรระยะสั้น
                 สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-5 โดยเนนที่สิ่งแวดลอมของจังหวัดสมุทรสาครใน 4 ดาน คือ

                 ขยะมูลฝอย น้ำเสีย อากาศเสีย และปาชายเลน เปนตน
                          •  ศูนยสิ่งแวดลอมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สนับสนุนดานวิชาการและ
                 การฝกอบรมใหแกโครงการศึกษาธรรมชาติปาชายเลนปากอาวมหาชัย ซึ่งจัดโดยเครือขายผูปกครอง
                 หองเรียนประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
                 “อาสาสมัครพิทักษสิ่งแวดลอม” ใหแกนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 5-6 เปนตน




                                                            ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹   43
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49