Page 42 - GL004
P. 42

โครงการพัฒนาเกณฑและตัวชี้วัดฯ ไดพัฒนาตอมาเปนโครงการ “Eco-School” สําหรับใช
                 เปนแนวทางการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ ตามกรอบพันธกิจไว 4 ดาน ไดแก ดานนโยบายสิ่งแวดลอม
                 ศึกษาและโครงสรางการบริหารจัดการ ดานการจัดกระบวนการเรียนรู ดานระบบการจัดการทรัพยากร
                 และสิ่งแวดลอม และดานการมีสวนรวมและเครือขายสิ่งแวดลอมศึกษา โดยจะมีการฝกอบรมครูและ
                 ทดลองใชในโรงเรียนนํารองในปการศึกษา 2551 จำนวน 41 โรงเรียนทั่วประเทศ 2550-2552


                 อุปสรรคและความสําเร็จของสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ในการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา
                        เมื่อเกิดการปฏิรูปโครงสรางการบริหารรูปแบบใหมขึ้น ความเปลี่ยนแปลงนี้ไดสงผลกระทบ

                 ถึงหนวยศึกษานิเทศกสวนกลาง ซึ่งไดริเริ่มงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาไวมิใชนอย ใหมีอันตองถูกยุบเลิก
                 ลงไปดวย โดยศึกษานิเทศกตองยายไปประจําในเขตพื้นที่การศึกษา 185 เขตทั่วประเทศตามความ
                 เหมาะสมของภูมิลําเนา หรือประจําในหนวยงานอื่นๆ ภายใตกระทรวงศึกษาธิการ หนวยศึกษานิเทศก
                 เหลานี้เคยมีบทบาทจัดฝกอบรมครูและศึกษานิเทศกทั่วประเทศ โดยลาสุดกอนจะถูกยุบมีกิจกรรม
                 นาสนใจ อาทิ โครงการสรางความเขมแข็งสิ่งแวดลอมศึกษาในประเทศไทย (Strengthening
                 Environmental Education in Thailand: SEET) เนื่องจากการใหความรูและพัฒนาทักษะดาน
                 สิ่งแวดลอมศึกษาใหแกครูและศึกษานิเทศกเอง ในลักษณะที่เปนโครงการดังที่เคยดําเนินการมา
                 เกิดขึ้นไดไมงายนัก ในขณะเดียวกัน ศึกษานิเทศกที่มีความรูและประสบการณดานสิ่งแวดลอมศึกษา
                 จะมีโอกาสนิเทศและพัฒนาครูในเรื่องดังกลาวได  ก็ตอเมื่อครูและโรงเรียนมีความประสงค
                 จะเขารวมดวย การสงเสริมและพัฒนาศักยภาพครูในดานสิ่งแวดลอมศึกษาจึงมีขอจํากัดเพิ่มมากขึ้น




                                                            ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹   41
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47