Page 40 - GL004
P. 40

4) การบูรณาการแบบโครงการเขากับสาระการเรียนรูของการจัดทำหลักสูตรทองถิ่น ซึ่ง
                 สถานศึกษาสามารถกําหนดหลักสูตรนี้เองไดโดยใหสอดคลองกับบริบทและองคความรูทองถิ่น และมี
                 สัดสวนเนื้อหารอยละ 50 ของหลักสูตรสถานศึกษา อยางไรก็ดี มีโรงเรียนจํานวนนอยมากที่มีการจัด
                 ตามลักษณะขางตน หากเทียบกับการจัดตามสามรูปแบบหลัก สําหรับการบูรณาการแบบสหวิทยาการ

                 หรือขามสาระการเรียนรูพบวามีนอยที่สุด และ
                        5) การจัดกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมของโรงเรียนทั้งในและนอกสถานศึกษา
                 ในสถานศึกษา ยอมไดแก การบริหารจัดการสิ่งแวดลอมและการใชทรัพยากร เชน การอนุรักษและ
                 ประหยัดไฟฟา การประหยัดน้ำ ธนาคารขยะรีไซเคิล การนําวัสดุเหลือใชกลับมาใชใหมในรูปแบบตางๆ
                 และระบบมาตรฐาน ISO 14001 เปนตน อยางไรก็ตาม โรงเรียนจํานวนไมนอย เนนความสําคัญ

                                               ไปที่การพัฒนาสิ่งแวดลอมทางวัตถุธรรม เชน การจัด
                                               สภาพแวดลอมในโรงเรียนและการจัดภูมิทัศนให
                                               เขียว สะอาด และสวยงาม โดยเขาใจวาเปนภาพสะทอน
                                               ความสําเร็จของสิ่งแวดลอมศึกษา และมองไมเห็นการ
                                               จัดกระบวนการเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษาในฐานะที่จะ
                                               นําไปสูการปรับเปลี่ยนคานิยมและพฤติกรรมในระยะยาว
                                                               ขณะที่นอกสถานศึกษานั้น โรงเรียนยังได

                                                        จัดกิจกรรมรวมกับชุมชนและองคกรปกครอง
                                                        สวนทองถิ่น  ซึ่งสวนใหญเนนกิจกรรมอนุรักษ
                                                        ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การจัดการขยะและรักษา
                                                        ความสะอาด  ตลอดจนเปนแหลงเรียนรูในดาน
                                                        อาชีพและภูมิปญญาทองถิ่น แมกระนั้นการเรียนรู
                                                        ปญหาในชุมชนดวยประสบการณตรงอยางลึกซึ้ง
                                                        และการรวมมือกันแกไขปญหายังนับวามีนอยมาก

                                                               อนึ่งในการสํารวจสภาวะการดําเนินงาน
                                                        สิ่งแวดลอมศึกษาของสถานศึกษาในประเทศไทย
                                                        สมควรกลาวถึง ศูนยสิ่งแวดลอมศึกษาระดับจังหวัด
                                                        เอาไวดวย เพราะแมวามิไดสังกัดอยูกับกระทรวง
                                                        ศึกษาธิการ แตศูนยสิ่งแวดลอมศึกษาระดับจังหวัด
                                                        ซึ่งริเริ่มโดยกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
                                                        กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                                                        ก็ดําเนินงานเกี่ยวของกับสถานศึกษาโดยตรง
                                                        โครงการเริ่มตนตั้งแตป พ.ศ. 2538 จนปจจุบัน




                                                            ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹   39
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45