Page 34 - GL004
P. 34

แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยเฉพาะการรับรองสิทธิการมีสวนรวมในการจัดการ
                 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประชาชนและชุมชน นโยบายการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ

                 โครงการขนาดใหญ ประชาชนมีบทบาทนอยมากในการมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
                 และสิ่งแวดลอม ตั้งแตขั้นตอนรับรูขอมูลขาวสาร การแสดงความคิดเห็น การรวมตัดสินใจ การรวม
                 ดําเนินการ จนถึงขั้นตอนการรวมติดตามและประเมินผล ขาดความเชื่อมโยงความสัมพันธระหวาง
                          นโยบายสิ่งแวดลอม  แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม  แผนปฏิบัติการเพื่อจัดการ
                                  คุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด รวมทั้งแผนพัฒนาจังหวัดและองคกรปกครอง
                                     สวนทองถิ่นเขาดวยกัน ทําใหเห็นถึงความจําเปนที่จะตองมีบทบัญญัติของ
                                     กฎหมายใหสอดคลองเหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจสังคม และ

                                     การเมืองที่ไดเปลี่ยนแปลงไป มีการรับรองสิทธิหนาที่และเพิ่มเติมบทบาท
                                     ในการมีสวนรวมของประชาชนหรือองคกรเกี่ยวกับการสงเสริมและรักษา
                                      คุณภาพสิ่งแวดลอม  รวมทั้งปรับปรุงบทบัญญัติ  ใหมีเนื้อหาสาระที่
                                      สอดคลองกับบทบัญญัติ ในกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของดวย จึงไดจัดทําราง
                                      พระราชบัญญัติขึ้นใหม โดยเปนการยกเลิกบทบัญญัติในพระราชบัญญัติ
                                       เดิมทั้งฉบับและยกรางขึ้นใหมทั้งฉบับใหมีความสอดคลองตอเนื่องกัน
                                       ทั้งระบบ เพื่อใหถูกตอง เหมาะสมตอการสงเสริมและรักษาคุณภาพ
                                                     สิ่งแวดลอม ซึ่งสวนหนึ่งไดกลายเปนที่มาของ นโยบาย
                                                       และแผนการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม

                                                        แหงชาติ พ.ศ. 2540-2559 อันมุงใหมีการจัดการ
                                                         ทรัพยากรธรรมชาติและสงเสริมและรักษา
                                                          คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ ควบคูไปกับการ
                                                          พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม  ที่ยังผลใหการ
                                                          พัฒนาประเทศเปนการพัฒนาที่ยั่งยืน และเสริม
                                                          สรางคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยไดกําหนด
                                                          แนวทางที่จําเปนเรงดวนในการฟนฟู

                                                         ทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดทดแทนได ใหไหลสู
                                                         สภาพสมดุลของการใชและการเกิดทดแทนและ
                                                        กําหนดแนวทางการแกไข รวมทั้งกําหนดแนวทาง
                                                        ในการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
                                                         แหงชาติในอนาคต






                                                            ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹   33
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39