Page 32 - GL004
P. 32

ตอเนื่องจากแผนปฏิบัติการสิ่งแวดลอมศึกษาแหงอาเซียนฉบับแรก ไดมีการพัฒนาแผนฯ
                 ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2549-2553) ขึ้น โดยไมจํากัดอยูในระดับเพียงแคการสงเสริมเทานั้น หากเนนที่การ
                 ลงมือปฏิบัติและมียุทธศาสตรเลยทีเดียว โดยคาดหวังวาจะสามารถนําไปสูผลสําเร็จไดจริงภายใน
                 กรอบเวลา 5 ป ภายใตทิศทางเดียวกันกับวิสัยทัศนอาเซียนป ค.ศ. 2020 (Asean Vision 2020) ที่มี

                 “อาเซียนสะอาดและเขียว” (Clean and Green Asean) เปนเปาหมาย ซึ่งประกอบไปดวยพลเมืองที่
                 ใสใจและมีจริยธรรมดานสิ่งแวดลอม อาจนําพาอาเซียนไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน มีเรื่องบูรณาการ
                 สิ่งแวดลอมศึกษาและการมีสวนรวมเปนแนวคิดหลัก และอยางสอดคลองกับทศวรรษแหงการศึกษา
                 เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยทั้งหมดนี้มีความมุงปรารถนาใหอาเซียนรวมมือรวมใจกันกาวไปขางหนา
                 เพื่อสังคมใหมที่อยูบนฐานของความยั่งยืนทั้งดานนิเวศ สังคม และเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ยังคาดหวังถึง
                 ผลในทางรูปธรรม อาทิ การบูรณาการสิ่งแวดลอมศึกษาในการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีงานวิจัยนวัตกรรม
                 ดานสิ่งแวดลอมศึกษาเพิ่มขึ้น มีการฝกอบรมสําหรับเยาวชน นักการศึกษา และผูมีสวนเกี่ยวของ โดยที่

                 ภาคเอกชนและประชาสังคมเขามามีสวนรวมและสนับสนุนมากขึ้น เปนตน ในทางกลไกการปฏิบัติงาน
                 นั้น มุงประสงคจะใหมีการตั้งคณะทํางานสิ่งแวดลอมศึกษา ประกอบดวยผูแทนจากประเทศสมาชิก
                 ทําหนาที่ประสานความรวมมือในการนําแผนฯ ไปปฏิบัติใหเกิดผลสําเร็จ และมีสํานักงานเลขาธิการ
                 อาเซียน (Asean Secretariat) และ IGES (Institute of Global Environmental Strategies) เปนผู
                 สนับสนุนการทํางาน ตลอดจนชวยเหลือจัดหาทุนในการจัดกิจกรรมหลักระดับภูมิภาค
                        ในกรณีของประเทศไทย สํานักความรวมมือดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมระหวาง
                 ประเทศ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดประสานงานมายังกรมสงเสริมคุณภาพ
                 สิ่งแวดลอม ใหเปนศูนยกลางการประสานงาน (focal point) ในการจัดทําขอเสนอของประเทศไทย
                 และไดรับการคาดหวังวาจะใหเปนผูประสานงานหลักเพื่อใหเกิดการดําเนินงานตามแผนฯ อาเซียน

                 ตอไป

                  สถานการณในประเทศไทย


                        แมวาในระดับประเทศไทยเราจะไมเคยมีนโยบายชัดเจนในเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษามากอน
                 แตในกฎหมายของไทย ตลอดจนนโยบาย และแผนงานตางๆ ไดปรากฎเคาลางของประเด็นตางๆ ที่มี
                 นัยยะถึงหลักการและเหตุผล รวมทั้งแนวทางการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาในประเทศไทย ดังตอนี้
                        หากกลาวถึงระดับโครงสรางเชิงสถาบันของไทย นิมิตหมายทางบวกแรกๆ ในเรื่องการบริหาร
                 จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมระดับประเทศ มีขึ้นตั้งแตมี พระราชบัญญัติสงเสริมและ

                 รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ที่กําหนดใหมีการพัฒนาองคกรการบริหารการจัดการ
                 มาตรการคุมครองสิ่งแวดลอม การควบคุมมลพิษ ตลอดจนสิทธิและหนาที่ของประชาชนในการรวมกัน
                 สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ




                                                            ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹   31
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37