Page 29 - GL004
P. 29

บทที่ 1


               สถานการณสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน





               สถานการณในโลกและระดับภูมิภาค


                     สิ่งที่แสดงใหเห็นวาโลกไดเริ่มตนตระหนักถึงสภาวะวิกฤตในเรื่องสิ่งแวดลอม ยอมไดแก
              การประชุมระหวางประเทศเรื่องสิ่งแวดลอมของมนุษย (The United Nations Conference on the
              Human Environment) เมื่อป พ.ศ. 2515 ที่กรุงสต็อกโฮลม ประเทศสวีเดน นับไดวาเปนครั้งแรก

              ที่มีการพูดถึงปญหาสิ่งแวดลอมและแนวทางแกไขในระดับโลก ที่ประชุมไดเสนอแผนปฏิบัติการ
              ทั้งในระดับประเทศและระหวางประเทศ  ในเรื่องการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ  การศึกษา
              การตั้งถิ่นฐานของมนุษย และมลพิษ เพื่อใชเปนเครื่องมือตอสูกับวิกฤตสิ่งแวดลอม
                     อยางไรก็ตามในอีก 3 ปตอมา กลับเปนที่ปรากฏชัดวาการเติบโตทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
              ไดสรางปญหาสังคม สิ่งแวดลอม และความไมเทาเทียมกันระหวางคนจนและคนรวยสูงขึ้นมาก คราวนี้
              จึงไดเกิดการประชุมเชิงปฏิบัติการสิ่งแวดลอมศึกษา  (The  International  Workshop  on
              Environmental Education) ขึ้น ณ เมืองเบลเกรด ประเทศยูโกสลาเวีย ในที่ประชุมมีการแสดง
              ความเห็นวาควรดําเนินการปฏิรูปแนวทางการศึกษาทั้งระบบ และไดเสนอกรอบสิ่งแวดลอมศึกษา
              ซึ่งตอมาเรียกวา กฎบัตรเบลเกรด (Belgrade Charter) ที่กําหนดเปาหมายของสิ่งแวดลอมศึกษาวา

              เพื่อพัฒนาประชากรโลกใหมีจิตสํานึกและหวงใยในสิ่งแวดลอม มีความรู ทักษะ เจตคติ ความตั้งใจ
              จริง และความมุงมั่นในการแกไขปญหาที่กําลังเผชิญอยู และปองกันปญหาใหม ทั้งดวยตนเองและ
              รวมมือกับผูอื่น นอกจากนี้ ไดใหแนวทางปฏิบัติไวดวย
                     จากกฎบัตรเบลเกรดนี้ไดนําไปสูการประชุมระหวางประเทศเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษา
              (The Intergovernmental Conference on Environmental Education) ที่เมืองทบิลิซี สหภาพโซเวียต
              ในป พ.ศ. 2520 โดยที่การประชุมชี้ชัดถึงความเชื่อมโยงระหวางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และ
              การเมือง กับพฤติกรรมของมนุษยที่ปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมและตอมนุษยดวยกันเอง จากจุดนี้จึงเปนเรื่อง

              ที่เขาใจไดวาสิ่งแวดลอมศึกษาหาใชเรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติเทานั้นไม แตมีความสัมพันธกับดานอื่นๆ
              ของสังคมดวย นอกจากนี้ ที่ประชุมยังไดเสนอหลักการและแนวทางสิ่งแวดลอมศึกษาโดยยึดเปาหมาย
              และแนวทางของกฎบัตรเบลเกรด รวมทั้งเพิ่มเติมแนวทางปฏิบัติสิ่งแวดลอมศึกษาทั้งระดับทองถิ่น
              ประเทศ ภูมิภาค และระหวางประเทศ สําหรับคนทุกวัย ทั้งในและนอกระบบการศึกษา








              28
              28 ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34