Page 33 - GL004
P. 33

ตอมาในบทบาทของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมไดจัดทํา แผนหลักและแผนปฏิบัติการ
              สิ่งแวดลอมศึกษา (ระดับประเทศ) ป พ.ศ.2540 - 2544 ซึ่งมีเนื้อหาระบุถึงเปาหมายของสิ่งแวดลอม

              หลักการของสิ่งแวดลอมศึกษา แผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษา และสรุปโครงการสิ่งแวดลอมศึกษาตาม
              นโยบายและมาตรการ อันถือกันวาเปนเอกสารเกี่ยวกับแนวทางการสงเสริมและพัฒนาสิ่งแวดลอม
              ศึกษาฉบับแรกและฉบับเดียวของประเทศไทย อยางไรก็ตาม แผนหลักและแผนปฏิบัติการฯ ดังกลาว
              ก็เปนเพียงระดับขอเสนอแนวทางในการดําเนินการเทานั้น
                     อยางไรก็ตาม เนื่องจาก พระราชบัญญัติสงเสริมและ
              รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ  พ.ศ.  2535  ซึ่งได
              บังคับใชมานาน ในฐานะของเครื่องมือสําหรับจัดการ

              ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประเทศ
              ในการวางแผนและจัดการสิ่งแวดลอม  ขณะที่
              สังคมไทยในเวลาตอมาไดมี  รัฐธรรมนูญแหง
              ราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช  2550  เกิดขึ้น
              กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศฉบับนี้
              มีเจตนารมณมุงมั่นหลายประการที่จะพิทักษ
              รักษาสิทธิ เสรีภาพของ ประชาชน โดยเฉพาะดาน
              ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังที่ไดบัญญัติไวใน
              มาตรา 66 และ 67 เพราะเหตุนี้ ตอมาดวยความรวมมือกัน

              ของหลายหนวยงาน ไดมีการศึกษาวิจัยในเรื่อง “โครงการ
              ศึกษาและจัดทําขอเสนอแนะ
              เชิงนโยบายการปรับปรุงแกไข
              กฎหมายวาดวย  การสงเสริม
              และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
              พ.ศ. 2535” ดําเนินการสรุป
              ประเด็นปญหาเรื่องการบังคับ

              ใชกฎหมาย ไดพบวา พ.ร.บ.
              ดังกลาวมีหลายประเด็นที่
              ไมสอดคลองกับ
              รัฐธรรมนูญ








              32 ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38