Page 30 - GL004
P. 30

ในป พ.ศ. 2530 คณะกรรมาธิการโลกวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนา (The World
                 Commission on Environment and Development) ดําเนินการเผยแพรรายงานที่ชื่อ Our Common
                 Future (อนาคตรวมกันของเรา) รายงานซึ่งมีขอความพิมพไวชัดเจนที่บนปกหลักวา นี้คือ “เอกสาร
                 ที่สําคัญที่สุดแหงทศวรรษวาดวยอนาคตของโลก” ชิ้นนี้นี่เองที่ทําใหแนวคิดและความหมายของ

                 “การพัฒนาที่ยั่งยืน” (sustainable development) วาคือการพัฒนาที่ตอบสนองความตองการของ
                 คนรุนปจจุบัน โดยไมลดทอนความสามารถของคนรุนอนาคต ที่จะตอบสนองความตองการของตนเอง
                 (Development that meets the needs of present generations without compromising the ability
                 of future generations to meet their own needs.) ไดรับการกลาวอางอิงจนถึงทุกวันนี้
                        ดังไดกลาวแลววา แมนานาประเทศจะตื่นตัวลุกขึ้นมาแสดงความเอาจริงเอาจังที่จะแกไข
                 ปญหาสิ่งแวดลอม ตามที่มีการประชุมครั้งแรกที่กรุงสต็อกโฮลม เมื่อ พ.ศ. 2515 ก็ตาม แตสถานการณ
                 สิ่งแวดลอมโดยรวมก็ยังนาวิตกมากขึ้นเรื่อยๆ ตอมาอีก 2 ทศวรรษเมื่อมีเหตุการณสําคัญคือการ

                 ประชุมวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนา (The United Nations Conference on Environment and
                 Development) หรือการประชุม Earth Summit ที่เมืองริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล เมื่อป พ.ศ.
                 2535  สถานการณสิ่งแวดลอมก็ยังมิไดกระเตื้องขึ้น  ความขอนี้ไดรับการตอกย้ำจากสถาบัน
                 Worldwatch Institute ซึ่งกลาวไววา “แตวาโดยรวม แนวโนมดานสภาพแวดลอมโลก หาไดทําใหเกิด
                 ความมั่นใจไม ระหวาง 20 ป นับแตการประชุมที่สต็อกโฮลมเปนตนมา สุขภาพของโลกไดเสื่อมโทรม
                 ลงๆ อยางนากลัวอันตราย”
                        อยางไรก็ตาม ในการประชุม Earth Summit ณ เมืองริโอ เดอ จาเนโร นั้น ผูแทนจากประเทศ
                 ตางๆ รวมทั้งประเทศไทย ไดรวมลงนามและรับรองเอกสารสําคัญที่มีชื่อวา เอกสารแผนปฏิบัติการเพื่อ
                 สรางการพัฒนาที่ยั่งยืนใหเกิดขึ้นในโลกศตวรรษที่ 21 หรือ Agenda 21 เปนแผนแมบทของโลก

                 เพื่อแนวทางปฏิบัติการที่จะทําใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในดานสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม
                 โดยเฉพาะอยางยิ่งในบทที่ 36 (chapter 36) อันวาดวยเรื่องการสงเสริมการศึกษา จิตสํานึกสาธารณะ
                 และการฝกอบรม ระบุวาการศึกษาทั้งในและนอกระบบเปนรากฐานสําคัญที่ชวยใหประชาชนเกิด
                 ความตระหนัก มีจริยธรรม คานิยม เจตคติ ทักษะ และพฤติกรรมที่สอดคลองกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
                 และชวยใหการมีสวนรวมในการตัดสินใจเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ การศึกษาจึงควรบูรณาการ
                 ทั้งเรื่องสิ่งแวดลอมกายภาพและชีวภาพ สิ่งแวดลอมดานสังคม เศรษฐกิจ และการพัฒนามนุษย
                        กลาวไดวาการประชุม Earth Summit สงผลกระทบอยางกวางขวางยิ่งกวาการประชุม

                 ครั้งใดๆ กอนหนานั้น ดวยการกอกระแสตื่นตัวในเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (EESD)
                 เดนชัดขึ้นในประเทศตางๆ ทั่วทั้งโลก
                        แผนปฏิบัติการ 21 และสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ไดรับการเนนย้ำถึงความ
                 สําคัญอีกครั้ง ในการประชุมสุดยอดโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (The World Summit on Sustainable






                                                            ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹
                                                            ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹   29 29
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35