Page 92 - 049
P. 92

78


                                                 ์
                                                                     ์
                                  จรรยา พุคยาภรณ (2549) กล่าวว่า กลยุทธความขัดแย้งในองค์กรประกอบด้วย 3
                       ประการ คอ
                               ื
                                               ื
                                                                  ุ
                                 1. สมรรถภาพ คอ ความสามารถของบคคลในองค์กรในการจัดการความขัดแย้ง
                                          ้
                                              ื
                                 2. โครงสราง คอ ระบบขององค์กร
                                              ื
                                                                             ิ
                                                                           ิ
                                                                                       ิ
                                                                        ี่
                                                                       ิ
                                                                          ี
                                                    ิ
                                                        ุ
                                 3. วัฒนธรรม คอ ค่านยม คณค่า และทัศนคตทมอทธพลในพฤตกรรมของความขัดแย้ง
                       ในองค์กร
                                                                                           ึ
                                                       ์
                                                                 ั
                                 การจะเลอกใช้ยุทธศาสตรในการแก้ปญหาความขัดแย้งแบบใดนั้น ข้นอยู่กับ
                                         ื
                       องค์ประกอบต่าง ๆ ดังน้  ี
                                 1. ประสบการณเดมเกี่ยวกับความขัดแย้งของแต่ละคน
                                                 ิ
                                               ์
                                                                   ์
                                          ้
                                          ู
                                        ั
                                 2. การรบรเกี่ยวกับอ านาจในสถานการณขัดแย้ง
                                               ์
                                                       ุ
                                 3. ความสัมพันธระหว่างบคคลก่อนเกิดความขัดแย้ง
                                                                                                       ั
                                 4. มทักษะทจ าเปนในการแก้ไขความขัดแย้ง เช่น ความสามารถในการสอสาร การฟง
                                            ี่
                                                                                             ื่
                                               ็
                                     ี
                                    ็
                       และการเจรจา เปนต้น
                                 ยุทธศาสตรในการแก้ปญหาความขัดแย้งแต่ละแบบมทั้งส่วนดและส่วนด้อย ดังนั้นจง
                                           ์
                                                                              ี
                                                                                                        ึ
                                                                                     ี
                                                     ั
                                                                                               ่
                       จ าเปนจะต้องเลอกใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ และตระหนักถงผลทจะเกิดตามมา ซงแบบต่างๆ
                                                                                               ึ
                                    ื
                          ็
                                                                ์
                                                                                  ี่
                                                                             ึ
                                                  ี่
                                                           ี
                       ของการจัดการกับความขัดแย้งทส าคัญ ๆ มดังน้  ี
                                                                                    ิ
                                                                                       ์
                                                                          ิ
                                 1. แบบของการจัดการกับความขัดแย้งตามแนวคดของรอบบนส (Robbins, 1974) ได้
                       เสนอวิธการแก้ไขความขัดแย้งไว้ 7 ประการดังน้  ี
                              ี
                                                                     ี่
                                                                                          ั
                                                                                       ี
                                                           ึ
                                                                   ี
                                   1.1 การหาทรพยากรเพิ่มข้น ในกรณทข้อขัดแย้งมาจากการมทรพยากรจ านวน
                                                ั
                                                         ั
                                                                                                       ึ
                                                                                                       ่
                                                 ื
                                                                      ึ
                       จ ากัดและหาได้ยาก การขยายหรอเพิ่มทรพยากรให้มากข้นเปนการแก้ไขความขัดแย้งได้อย่างหนง
                                                                         ็
                                                                ั
                       แต่วิธน้มข้อจ ากัดด้านความสามารถในการเพิ่มทรพยากรขององค์กรเอง
                             ี
                           ี
                              ี
                                                                          ่
                                                                               ่
                                                                                 ่
                                                                               ึ
                                              ี
                                                 ี่
                                                                                               ื
                                   1.2 การหลกเลยงความขัดแย้ง ท าได้โดยให้ฝายหนงฝายใดถอนตัวหรอหลกทาง
                                                                                                   ี
                                       ิ
                                                                                               ิ
                                ี
                       ไปโดยไม่มการเผชญหน้า หรอให้แต่ละฝายใช้ความระมัดระวังในการด าเนนการเพื่อมให้
                                                                                     ิ
                                               ื
                                                         ่
                                       ื่
                       กระทบกระทั่งฝายอนจนเกิดความขัดแย้งข้น
                                                          ึ
                                    ่
                                                                                        ่
                                                                                              ็
                                                                                                  ้
                                                                                        ึ
                                                      ี่
                                                                  ็
                                   1.3 การแยกแยะส่งทต่างออกไป เปนการขจัดความแตกต่าง ซงอาจเปนเปาหมาย
                                                    ิ
                                                             ่
                                                              ึ
                                                                ี่
                            ิ
                                          ั
                                                                          ี
                                ี
                                                                      ื่
                       แนวคด วิธการ โดยปรบเข้าหากัน แนวทางหนงทใช้ในเรองน้คอการสรางเปาหมายร่วมกันและใช้
                                                                           ื
                                                                                  ้
                                                                                      ้
                                           ิ
                                 ็
                                    ี
                       การท างานเปนทมเข้าเสรม
                                                                                                    ึ
                                                                                                      ุ
                                   1.4 การประนประนอม เปนการลดข้อเรยกรองของแต่ละฝายลงเพื่อให้เข้าถงจดท    ี่
                                                           ็
                                                                                     ่
                                                                      ี
                                                                          ้
                                                 ี
                                                                 ่
                                                                       ี
                       ตกลงกันได้ในลักษณะหันหน้าเข้าหากัน ซงแต่ละฝายจะมความพึงพอใจบ้างแม้จะไม่เต็มทอย่างท ี่
                                                          ึ
                                                          ่
                                                                                                  ี่
                       ต้องการ
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97