Page 89 - 049
P. 89
75
้
กระบวนการของความขัดแยงตามแนวคิดของโธมัส
็
ี่
่
ึ
ในอกทัศนะหนงทเหนว่าความขัดแย้งเปนกระบวนการนั้น ความขัดแย้งระหว่างสอง
ี
็
ุ
็
ี
ึ
ุ
่
์
์
ึ
ี
ฝายจะเกิดข้นเปนตอนๆ ในแต่ละตอนจะมเหตการณเกิดข้นตามล าดับ เหตการณเหล่าน้จะ
เคลอนไหวเปลยนแปลงอยู่เสมอ เมอความขัดแย้งตอนแรกส้นสดลงก็จะเกิดความขัดแย้งในตอน
ื่
ื่
ิ
ุ
ี่
ี่
ี
ี
ึ
ต่อไปอก ความขัดแย้งในตอนใหม่น้ก็จะมเหตการณทเกิดข้นตามล าดับ ซ ้ากับความขัดแย้งในตอน
ี
์
ุ
็
่
ุ
ุ
ื
ึ
่
ิ
แรก ในขั้นสดท้ายของความขัดแย้งในแต่ละตอนนั้น พฤตกรรมของฝายหนงจะเปนตัวกระต้นหรอ
ึ
ิ
่
ี
่
ิ
้
เปนส่งเราให้อกฝายหนงแสดงพฤตกรรมตอบสนอง ความขัดแย้งในตอนใหม่เปนผลมาจาก
็
็
ความขัดแย้งในตอนก่อนๆ
็
็
ึ
ี่
Thomas (1976) แสดงให้เหนว่า ความขัดแย้งเปนกระบวนการทเกิดข้นเปนตอนๆ ใน
็
ุ
แต่ละตอนจะมเหตการณเกิดข้นตามล าดับดังน้ ความขัดแย้งเกิดจากความคับข้องใจ (Frustration)
ึ
์
ี
ี
ึ
่
ี่
่
่
่
ี่
ี่
ู
ึ
ี
ของฝายหนงทเกิดจากการทถกอกฝายหนงกระท า การกระท าทก่อให้เกิดความคับข้องใจ เช่น ไม่
ี
เหนด้วย ไม่ช่วยเหลอ ดถกเอาเปรยบ ให้ราย ไม่อนมัต เปนต้น ผลของความคับข้องใจจะท า ให้เกิด
้
ู
ื
ิ
็
็
ู
ุ
ี
มโนทัศน์ (Conceptualization) เกี่ยวกับความขัดแย้ง ค่กรณพยายามจะเข้าใจธรรมชาตของ
ู
ิ
็
ิ
ุ
ู
้
ั
ี
ึ
ื
ความขัดแย้ง แต่การรบรของบคคลเปนจตวิสัยและมักจะล าเอยง ดังนั้น จงจะหาหลักฐานหรอ
ี่
้
ี
ู
ุ
ิ
ั
ู
เหตผลมาประกอบว่าการรบรของตนมต่อความขัดแย้งนั้นถกต้อง คนทพบกับความขัดแย้งจะคดหา
ี
ื่
ื
ั
วิธแก้ปญหาความขัดแย้ง หรอเมอพบกับความขัดแย้งก็จะพยายามหาทางออก จากงานวิจัยพบว่า
ุ
ึ
ื่
ื่
คนส่วนใหญ่จะหาทางออกด้วยการเอาแพ้เอาชนะมากกว่าอย่างอน เมอเกิดความขัดแย้งข้นบคคลจะ
แสดงพฤตกรรม (Behavior) ออกมา พฤตกรรมทแสดงออกมาอาจเปนการเอาชนะ การแข่งขัน
ิ
ี่
ิ
็
่
ึ
ี่
ื
ื่
ื
่
ิ
ี
การต่อรอง การร่วมมอ การหลกเลยง หรอการผ่อนปรนเข้าหากัน เมอฝายหนงแสดงพฤตกรรม
ิ
่
ี่
ิ
ี
ิ
ี่
ี
่
ึ
ี
ออกมาก็จะมปฏกิรยา (Reactions) ของอกฝายหนงทมต่อพฤตกรรมทแสดงออกมานั้น ปฏกิรยาของ
ิ
ิ
่
อกฝายหนงอาจท าให้เพิ่มหรอลดความขัดแย้งก็ได้ ในขั้นน้แต่ละฝายอาจจัดการกับความขัดแย้งเอง
ี
่
่
ื
ี
ึ
ื
หรอให้บคคลทสาม เช่น ผู้บรหารมาจัดการกับความขัดแย้งให้ ไม่ว่าจะจัดการกับความขัดแย้ง
ี่
ิ
ุ
ี่
ี
่
อย่างไรก็ตาม ก็จะมผลของความขัดแย้ง (Outcome) ทเกิดข้นตามมา ถ้าหากทั้งสองฝายพอใจ
ึ
่
่
่
ุ
ึ
ความขัดแย้งก็อาจส้นสดลง ถ้าฝายใดฝายหนงไม่พอใจ เกิดความคับข้องใจ ผลของความขัดแย้ง
ิ
ในตอนน้จะท าให้เกิดความขัดแย้งในตอนต่อไปอก
ี
ี
ี
ิ
ื
Anderson (1988) กล่าวว่า กระบวนการบรหารความขัดแย้งม 4 ขั้นตอน คอ
ิ
ิ
ุ
1. การวินจฉัยความขัดแย้งหรอการหาสาเหตทแท้จรงว่าความขัดแย้งเกิดจากการ
ื
ี่
ึ
่
ื
ึ
ท างาน ซงต้องอาศัยซงกันและกัน หรอเกิดจากการกระท า การจัดการทแตกต่างกัน การคาดหวัง
่
ี่
เปาหมายและโครงสรางทต่างกัน
้
ี่
้