Page 90 - 049
P. 90
76
ิ
ิ
2. การนยามปญหาความหมายความขัดแย้ง ผู้บรหารจะต้องพิจารณาธรรมชาตของ
ิ
ั
ั
ื
ุ
ี
็
ุ
ิ
ความขัดแย้งว่าเปนความขัดแย้งระหว่างกล่มหรอบคคล การนยามปญหามความส าคัญ เพราะจะท า
ให้เข้าใจขอบเขตการจัดการขัดแย้งได้ชัดเจน
ี่
็
3. การพิจารณาผลทจะตามมาของความขัดแย้ง เปนการพิจารณาว่าผลของ
ี่
ี่
ี
ความขัดแย้งทจะเกิดข้นมานั้นเปนไปในทางทดหรอไม่ด ซงเปนผลทได้รบในขณะน้ หรอผลทจะ
ึ
ั
ี
ื
ี่
ี
่
ึ
็
ี่
็
ื
ต้องการในอนาคตว่าต้องการอะไร
ิ
็
ี
4. ขั้นยุทธศาสตรในการบรหารความขัดแย้ง เปนการใช้เทคนควิธการในการแก้ไข
ิ
์
่
ี
ึ
ั
ั
ิ
ี
ปญหาความขัดแย้ง มเทคนคหลายวิธในการแก้ไขปญหาความขัดแย้ง ซงควรใช้ให้เหมาะสมกับ
ปญหาและสถานการณ ์
ั
กระบวนการของความขัดแยงตามแนวคิดของรอบบินส ์
้
Robbins (1996) ได้เสนอกระบวนการความขัดแย้ง (Conflict process) ไว้
ประกอบด้วย 4 ขั้น คอ
ื
ี่
ี่
ขั้นท 1 ความขัดแย้งทซ่อนอยู่ภายใน (Potential Opposition) สภาวะ (Condition) ท ี่
ื
ุ
ี่
สรางโอกาสเพื่อให้เกิดความขัดแย้งข้น เหตทส าคัญของการเกิดภาวะดังกล่าวม 3 ล าดับขั้น คอ
ี
ึ
้
็
ี่
ิ
ื่
1. การตดต่อสอสาร (Communication) เปนการให้ความหมายของค าทยาก
ี่
การแลกเปลยนข้อมูลทยังไม่เพียงพอ เปนต้น
็
ี่
ึ
่
ิ
ึ
2. โครงสราง (Structure) ซงรวมไปถงขนาด ระดับของความช านาญเฉพาะของสมาชก
้
็
้
กล่ม ความชัดเจนของขอบเขตของอ านาจ แบบของภาวะผู้น า ความสอดคล้องกันในเปาหมาย เปน
ุ
ต้น
ึ
3. ตัวแปรส่วนบคคล (Personal Variable) ซงได้แก่ ค่านยมของแต่ละคน ลักษณะของ
่
ุ
ิ
็
ิ
ุ
บคลกภาพแต่ละคน เปนต้น
ี่
ี่
้
็
ี
เหล่าน้ล้วนแต่เปนเหตส าคัญของการเกิดภาวะทสรางความขัดแย้งทซ่อนศักยภาพไว้
ุ
ู
้
ภายใน ยังไม่มการรบรและเกิดความรสกทขัดแย้งแต่อย่างใด
ี
ั
ู
ึ
ี่
้
ั
ื่
ี่
็
ขั้นท 2 การรบรและการท าให้เปนส่วนตัว (Recognition and Personalization) เมอ
้
ู
ี่
ึ
สภาวะความขัดแย้งทซ่อนศักยภาพไว้ดังกล่าวแล้วในขั้นท 1 เกิดความคับข้อง (Frustration) ข้นแล้ว
ี่
ศักยภาพทซ่อนอยู่ภายในก็จะปรากฎออกมา เมอฝายใดฝายหนงถกท าให้กระทบและรบรโดย
้
ี่
่
ื่
ู
่
ั
ู
ึ
่
็
ื
ความขัดแย้งนั้น อาจแยกเปน 2 ขั้นย่อย ๆ คอ
ั
้
1. ความขัดแย้งทรบรได้ (Perceived Conflict) เปนการรบรความขัดแย้งโดยผู้เกี่ยวข้อง
ี่
ู
ู
้
็
ั
่
ฝายใดฝายหนงหรอมากกว่า
่
ื
่
ึ