Page 68 - 049
P. 68
54
ึ
็
ี่
็
ื
ื่
แต่เนองจากความขัดแย้งเปนพลวัตหรอเคลอนไหวอยู่เสมอ ดังนั้น จงเปนการยากทจะ
ื่
แยกความขัดแย้งออกจากกันได้โดยเด็ดขาด
ี่
Smith and Others (1981) แบ่งประเภทความขัดแย้งโดยมองทผลของความขัดแย้งใน
องค์กรเปน 2 ประเภท ได้แก่
็
ิ
ี่
ี่
้
ื
ิ
1. ความขัดแย้งในเชงสรางสรรค์หรอความขัดแย้งทท าหน้าทตามปกต เช่น
ิ
ิ
ุ
ุ
ความขัดแย้งทสนับสนนจดหมายและการปฏบัตงานขององค์กร
ี่
ื
ิ
ี่
2. ความขัดแย้งในด้านท าลายหรอไม่ท าหน้าทตามปกต เช่น ความขัดแย้งทเปน
ี่
็
ุ
อปสรรคต่อการท างาน
ึ
Luthans (1985) กล่าวถงความขัดแย้งในองค์กรแบบดั้งเดม (Classical Organization)
ิ
้
็
่
ื
ซงเปนความขัดแย้งตามโครสราง แบ่งออกเปน 4 ประเภท คอ
ึ
็
1. ความขัดแย้งตามสายการบังคับบัญชา (Hierarchical Conflict) เปนความขัดแย้งท ี่
็
ิ
ื
ิ
ิ
ึ
เกิดข้นหลายระดับ เช่น ระหว่างผู้บรหารกับผู้ปฏบัตหรอระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา
ึ
ี่
2. ความขัดแย้งเกี่ยวกับกระบวนหน้าท (Functional Conflict) เกิดข้นระหว่าง
ิ
ุ
ื
หน่วยงานย่อยหรอกล่มผู้ปฏบัตหน้าทต่างๆ
ิ
ี่
3. ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานหลักและหน่วยงานย่อย (Line and Staff Conflict)
4. ความขัดแย้งระหว่างองค์กรตามแบบและองค์กรนอกแบบ (Formal Informal
Conflict)
ถวัลย์ วรเทพพุฒพงษ์ (2534) ได้แบ่งประเภทของความขัดแย้งในเชงการบรหาร
ิ
ิ
ิ
องค์กร ไว้ 3 ประเภทคอ
ื
ิ
1. ความขัดแย้งทางความคด (Conflict of Ideas) โดยทั่วไปมักมสาเหตมาจากส่ง
ุ
ิ
ี
ต่อไปน้ ี
1.1 ทัศนคต ค่านยม และความเชอทต่างกัน จงท าให้เกิดความคดไม่ตรงกัน
ิ
ี่
ิ
ื่
ึ
ิ
ี่
ิ
1.2 ความสามารถทแตกต่างกัน จงท าให้เกิดความคดความอ่านแตกต่างกัน
ึ
1.3 ประสบการณทแตกต่างกัน จงท าให้มองปญหาไม่เหมอนกัน
ึ
ั
ื
ี่
์
ี่
ี่
1.4 ความคาดหมายในบทบาทจากเจ้าหน้าทหลากฝายทแตกต่างกัน
่