Page 60 - 049
P. 60
46
ิ
ิ
ิ
แนวคดเกี่ยวกับความขัดแย้งตามแนวคดเดม
ู
1. ความขัดแย้งควรจะถกก าจัดให้หมดไปจากองค์กร ความขัดแย้งท าให้องค์กร
ี
้
ิ
แตกแยกและปองกันไม่ให้การท างานมประสทธภาพ
ิ
ี่
2. ในองค์กรทดทสดจะไม่มความขัดแย้ง
ี่
ี
ุ
ี
3. สามารถหลกเลยงความขัดแย้งได้
ี่
ี
็
ิ
4. ความขัดแย้งเปนผลมาจากความผิดพลาดของการบรหาร
ี
็
็
ุ
ู
5. ความขัดแย้งเปนของเลว เพราะ น าไปส่ความเครยด ความเปนศัตรกันระหว่างบคคล
ู
และท า ให้โครงการล้มเหลว
้
ิ
ุ
ั
6. โดยการสรางบรรยากาศให้เหมาะสมแล้ว ผู้บรหารสามารถควบคมและปรบ
้
พฤตกรรมของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ รวมทั้งการแสดงก้าวราว การแข่งขันและความขัดแย้ง
ิ
แนวคดเกี่ยวกับความขัดแย้งตามแนวคดปจจบัน
ิ
ุ
ิ
ั
ิ
ิ
ิ
1. ความขัดแย้งอาจส่งเสรมการปฏบัตงานในองค์กรควรจะบรหารความขัดแย้งให้เกิด
ิ
ึ
ี
ื
ี
ี่
ุ
ี
ิ
ผลดทสด ความขัดแย้งอาจมประโยชน์ หรออาจมโทษข้นอยู่กับวิธการบรหารความขัดแย้ง
ี
ุ
ี่
ุ
ี
2.ในองค์กรทดทสดจะมความขัดแย้งในระดับทเหมาะสม ซงจะช่วยกระต้นและจูงใจ
ี่
ี
ึ
่
ี่
ิ
ให้คนปฏบัตงานอย่างมประสทธภาพ
ิ
ิ
ิ
ี
ึ
่
ี
็
3. ความขัดแย้งเปนส่วนหนงของชวิตในองค์กร
้
ิ
4. ความขัดแย้งเปนผลมาจากความแตกต่างของรางวัลทได้รบ เปาหมาย และค่านยมใน
ั
็
ี่
้
ุ
องค์กร ความขัดแย้งอาจเกิดจากความก้าวราวตามธรรมชาตของบคคล
ิ
5. ความขัดแย้งเปนของด เพราะจะช่วยกระต้นให้คนพยายามหาทางแก้ปญหา
ั
ุ
็
ี
ั
ี
ิ
ี่
ี
ั
6. มปจจัยหลายอย่างทส่งผลต่อการท างานของคน ปจจัยเหล่าน้ผู้บรหารไม่สามารถ
ิ
้
ั
ุ
ี
ควบคมได้ เช่น ปจจัยทางด้านพันธกรรมและปจจัยทางด้านจตวิทยา ผู้บรหารจ าเปนจะต้องเรยนรว่า
็
ู
ิ
ุ
ั
จะอยู่กับความขัดแย้งอย่างไร
ี
นอกจากน้ วิรช สงวนวงศ์วาน (2546) ได้ให้ทรรศนะเกี่ยวกับความขัดแย้งไว้ 3
ั
ทรรศนะ คอ
ื
1. Traditional View มความเหนว่า ความขัดแย้งเปนส่งช้ถงปญหาในกล่ม จงควรต้อง
ึ
ุ
ั
ิ
ี
็
็
ึ
ี
ี
ี่
พยายามหลกเลยงไม่ให้เกิดความขัดแย้งข้น
ึ
ื่
ุ
2. Human Relation View เหนความขัดแย้งเปนเรองปกต เปนธรรมชาตของกล่ม
็
็
็
ิ
ิ
็
ิ
ิ
ี่
ความขัดแย้งอาจมใช่ส่งทก่อให้เกิดผลลบเสมอไป ความขัดแย้งอาจเปนส่งทท าให้เกิดการ
ี่
ิ
ิ
ี
ี่
ุ
ิ
ึ
พัฒนาการปฏบัตงานของกล่มทดข้นกว่าเดมได้
ิ