Page 42 - 049
P. 42
28
ู
แล้วจะต้องใช้สมรรถนะตัวไหนบ้าง ช่วยให้เกิดการหล่อหลอมไปส่สมรรถนะขององค์กรทดข้น มี
ึ
ี่
ี
ี่
ค าในภาษาไทยหลายค าทใช้แทนค าว่า Competency เช่น สมรรถนะ ความสามารถ และสมรรถภาพ
ึ
ิ
ิ
ค าว่า สมรรถนะ ตามแนวคดทางจตวิทยา ใช้ค าว่า “Ability” หมายถง ความสามารถใน
ิ
ี่
ิ
ื
การเรยนรทจะปฏบัตงาน หรอความสามารถหรอความเหมาะสมในการปฏบัตงาน แนวคดด้าน
ิ
ื
ี
ิ
ู
้
ิ
ี่
ี
ี
ุ
ุ
การวัดและประเมนผลบคคล ใช้ค าว่า “Potential” มจดเน้นทขดความสามารถในการท างานของ
ิ
่
ิ
ิ
ิ
ี
ี่
ึ
ุ
ี
บคคลทมประสทธภาพ แนวคดทางวิธวิทยาการจัดการใช้ค าว่า “Core Competency” ซงหมายถง
ึ
ี่
ุ
็
ุ
ความสามารถหลักขององค์กรธรกิจ ทท าให้ธรกิจประสบความส าเรจ ส่วนค าว่า “Capability”
้
หมายถง คณลักษณะของบคคล ทต้องการทักษะทางวิชาชพ ศักยภาพในการเรยนรและ
ี
ี
ี่
ุ
ู
ุ
ึ
็
ี
็
ความสามารถทจ าเปนต่อความส าเรจ (ดนัย เทยนพุฒ, 2548) ส านักงานคณะกรรมการข้าราชการ
ี่
พลเรอน (2548) ใช้ค าว่า สมรรถนะ แทนค าว่า Competency
ื
ส าหรบความหมายของสมรรถนะ ตามแนวคดของ McClelland (1999) หมายถง
ึ
ิ
ั
ิ
ั
บคลกลักษณะที่ซ่อนอยู่ภายในปจเจกบคคล ซงสามารถผลักดันให้ปจเจกบคคลนั้นสรางผลการ
้
ุ
ั
่
ุ
ุ
ึ
ั
ี
ปฏบัตงานทดหรอตามเกณฑ์ทก าหนดในงานทตนรบผิดชอบ นอกจากน้ Spencer (1993) ได้ให้
ื
ี
ิ
ิ
ี่
ี่
ี่
่
็
ึ
ึ
ุ
ความหมายสอดคล้องกับ McClelland ว่า สมรรถนะ หมายถง คณลักษณะทจ าเปนของบคคล ซงม ี
ี่
ุ
ึ
์
ุ
ความสัมพันธกับประสทธผลของงานเปนคณลักษณะในส่วนลกเฉพาะของบคคล ซงก่อให้เกิด
ิ
็
ิ
ุ
ึ
่
ี่
ี
ี่
ิ
พฤตกรรมทสามารถท านายผลลัพธ์ทดเลศในงานได้
ิ
ุ
ี
ี
ุ
ข้อบังคับครสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพและจรรยาบรรณของวิชาชพ พ.ศ. 2548 ได้
ี
ก าหนดมาตรฐานวิชาชพทางการศกษา ประกอบด้วย
ึ
ู
้
1. มาตรฐานความรและประสบการณ ์
ิ
2. มาตรฐานการปฏบัตงาน
ิ
ิ
ิ
3. มาตรฐานการปฏบัตตน
ุ
ั
ื่
ิ
้
ิ
เพื่อให้เกิดคณภาพในการปฏบัตงาน สามารถสรางความเชอมั่นศรทธาให้แก่
ิ
ิ
็
ี่
ุ
ี
ั
ี่
ี
ผู้รบบรการจากวิชาชพได้ว่าเปนบรการทมคณภาพ สามารถตอบสังคมได้ว่าการทกฎหมายให้
ความส าคัญกับวิชาชพทางการศกษา และก าหนดให้มวิชาชพควบคมนั้นเนองจากเปนวิชาชพทม ี
ี
ี่
ี
็
ุ
ื่
ึ
ี
ี
ี
ลักษณะเฉพาะ ผู้ประกอบวิชาชพต้องมสมรรถนะด้านความร ทักษะและความเชยวชาญในการ
้
ู
ี
ี่
ุ
ี
ิ
ประกอบวิชาชพ (ส านักงานเลขาธการครสภา, 2548)
ุ