Page 39 - 049
P. 39
25
้
2.1 การสรางรปแบบใหม่
ู
ื
ู
2.2 การปรบปรงหรอพัฒนารปแบบเดม
ุ
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
ื
แนวคดของ Eisner (1979) ได้เสนอการทดสอบหรอประเมนโดยใช้ผู้ทรงคณวุฒด้วย
ิ
์
็
ื
ิ
ึ
เหนว่าการวิจัยทางการศกษาส่วนใหญ่ ด าเนนการตามหลักการทางวิทยาศาสตรหรอเชงปรมาณมาก
ิ
ิ
ี
ุ
ึ
เกินไปและในบางเรองก็ต้องการความละเอยดอ่อนมากกว่าการได้ตัวเลขแล้วสรป จงได้เสนอ
ื่
ิ
ิ
ุ
ิ
แนวคดการประเมนโดยผู้ทรงคณวุฒไว้ดังน้ ี
ิ
1. การประเมนโดยแนวทางน้ มได้ประเมนโดยเน้นสัมฤทธ์ผลของเปาหมายหรอ
ิ
ิ
ี
ื
้
ิ
้
ิ
วัตถประสงค์ตามรปแบบของการประเมนแบบองเปาหมาย (Goal Based Model) การตอบสนอง
ู
ิ
ุ
ู
ั
ี่
ปญหาและความต้องการของผู้ทเกี่ยวข้องตามรปแบบของการประเมนแบบสนองตอบ (Responsive
ิ
Model) หรอการรองรบกระบวนการตัดสนใจตามรปแบบการประเมนองตามการตัดสนใจ
ิ
ั
ู
ิ
ิ
ิ
ื
่
ึ
ิ
ุ
ิ
(Decision Making Model) แต่อย่างใดอย่างหนง แต่การประเมนโดยผู้ทรงคณวุฒ จะเน้น
่
ึ
ึ
การวิเคราะห วิจารณอย่างลกซ้งเฉพาะในประเด็นทถกน ามาพิจารณา ซงไม่จ าเปนต้องเกี่ยวโยงกับ
็
ึ
ู
ี่
์
์
ั
ิ
ี่
วัตถประสงค์หรอผู้ทมส่วนเกี่ยวข้องกับการตัดสนใจเสมอไป แต่อาจจะผสมผสานปจจัยต่างๆ ใน
ี
ุ
ื
การพิจารณาเข้าด้วยกัน ตามวิจารณญาณของผู้ทรงคณวุฒเพื่อให้ได้ข้อสรปเกี่ยวกับคณภาพ
ุ
ุ
ุ
ิ
ิ
ี่
ิ
ิ
ประสทธภาพ และความเหมาะสมของส่งทจะท าการประเมน
ิ
ู
ิ
2. รปแบบการประเมนทเน้นความเชยวชาญเฉพาะทาง (Specialization)ทพัฒนามาจาก
ี่
ี่
ี่
์
ิ
ศลปวิจารณ (Art Criticism) มาใช้เปนรปแบบของการประเมน โดยให้แนวคดว่าการวิพากษ์วิจารณ ์
ิ
ิ
็
ู
ี
ึ
ี่
เปนการใช้วิจารณญาณในการบรรยายคณภาพของส่งทศกษา (Descriptive Aspect) ทมความ
ี่
ุ
็
ิ
ึ
ึ
็
ี
ี่
็
ื่
ุ
ละเอยดอ่อนลกซ้งและต้องอาศัยผู้เชยวชาญระดับสงมาเปนผู้วินจฉัย เนองจากเปนการวัดคณค่าไม่
ิ
ู
ิ
ู
้
ิ
ิ
อาจประเมนด้วยเครองวัดใด ๆ และต้องใช้ความรความสามารถของผู้ประเมนอย่างแท้จรง ใน
ื่
ึ
การตัดสนคณค่า (Evaluative Aspect) แนวคดน้ได้น ามาประยุกต์ใช้ในทางการศกษาระดับสงมาก
ุ
ู
ิ
ี
ิ
้
็
ึ
ึ
ี่
ี
ึ
ิ
ข้น ทั้งน้เปนเพราะองค์ความรเฉพาะสาขา ผู้ทศกษาเรองนั้นจรงๆ จงจะทราบและเข้าใจอย่างลกซ้ง
ึ
ึ
ื่
ู
ึ
ึ
ุ
ึ
ิ
ื่
ดังนั้นในวงการอดมศกษาจงนยมน ารปแบบน้มาใช้ในเรองทต้องการความลกซ้งและ
ึ
ี
ู
ี่
ความเชยวชาญเฉพาะทางสง
ี่
ู
ิ
3. รปแบบทใช้ตัวบคคล คอ ผู้ทรงคณวุฒเปนเครองมอในการประเมน โดยให้
็
ุ
ู
ิ
ุ
ื
ี่
ื่
ื
ี่
ิ
ื
ี
ี
ิ
ุ
ุ
ี
ื่
ี่
ความเชอถอว่าผู้ทรงคณวุฒนั้นเทยงธรรมและมดลพินจทด ทั้งน้มาตรฐานและเกณฑ์การพิจารณา
์
ต่าง ๆ นั้นจะเกิดข้นจากประสบการณและความช านาญของผู้ทรงคณวุฒนั่นเอง
ิ
ุ
ึ