Page 386 - 049
P. 386

347


                                                         รายการประเมิน
                                                                                       ่
                              1.3 หลังจากนั้นให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสังเกตถึงความแตกต่างระหว่างกอนปฏิบัติและหลัง
                       ปฏิบัติ โดยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กัน ซึ่งจะเกิดความประหลาดใจเกี่ยวกับความคิดของตนเองและ

                       ของผู้อื่น พร้อมที่จะรับรู้เรื่องราวและประสบการณ์ใหม่ๆ

                         2. กิจกรรมหลัก

                         เป็นขั้นการด าเนินการเพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษาที่จะเข้าสู่กระบวนการพัฒนาสมรรถนะการ
                       บริหารความขัดแย้งได้รับการพัฒนาตามรูปแบบที่สร้างขึ้น เป็นการสร้างและพัฒนาความรู้ ทักษะ
                       และเจตคติ ซึ่งมีกิจกรรมดังต่อไปนี้
                              2.1 ให้ความรู้เรื่องที่ศกษา (Information)
                                                ึ
                              ให้ความรู้และทบทวนหลักการ แนวคิดตามองค์ประกอบความขัดแย้ง 6 องค์ประกอบ จาก
                       เอกสาร คู่มือ การบรรยายหรือสื่อมัลติมีเดียต่างๆ และความรู้เรื่องแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา
                              2.2 เชื่อมโยงประสบการณ์ (Connection)
                              หลังจากผ่านขั้นตอนการตระหนักรู้ถึงเหตุการณ์ความประทับใจและได้รับความรู้ในเรื่องที่

                                                             ์
                       ศึกษาแล้ว ต่อไปให้น าความรู้และประสบการณความประทับใจมาเชื่อมโยงกัน ซึ่งความประทับใจใน
                       ความรู้และประสบการณ์ทุกอย่างที่มีมากมายเป็นประสบการณ์ส่วนบุคคล ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลที่
                       มากมายและส าคัญยิ่ง (Resourcefulness) โดยกระตุ้นให้ผู้เข้ารับการพัฒนาอภิปรายและเล่า
                       ประสบการณ์ทั้งที่ประสบความส าเร็จและเกิดข้อผิดพลาด ในบรรยากาศที่เป็นกัลยาณมิตร

                              2.3 ท าให้กระจ่าง (Clarity)
                              ส่งเสริมแนวคิดต่อสถานการณ์ การยอมรับสิ่งใหม่ๆ โดยการแสดงออกถึงความคิดริเริ่ม ความ
                       ฉลาด อารมณ์ และประสบการณ์ทางสังคม พร้อมอภิปรายและเสนอมุมมองที่แตกต่างในการอภิปราย

                       แบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณและจุดประกายสิ่งใหม่ๆ ในเนื้อหาที่ร่วมสนทนา ด้วย
                                                        ์
                       กิจกรรมสภากาแฟ (The Word Café)

                         3. กิจกรรมสรุป
                                  ี่
                         เปิดพื้นทของความไว้วางใจให้ผู้เข้ารับการพัฒนาแลกเปลี่ยนมุมมอง ประสบการณ์ภายในและ
                                              ี
                       การเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งไม่มถูกไม่มีผิดหรือห้อยแขวน (Suspend) ไม่มีประธานหรือผู้น า หรือผู้ตาม
                       ไม่ปล่อยให้ความแตกต่างทางด้านเพศ อายุ สถานะศักดิ์หรือต าแหน่งเข้ามามีบทบาท มีความเป็น
                       อิสระและเท่าเทียมกันในวงสนทนา โดยใช้กิจกรรมสุนทรียสนทนา (Dialogue) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

                              3.1 หาผู้ควบคุมกระบวนการหรือกระบวนกร (Facilitator) อย่างน้อย 1 คน ซึ่งกระบวนกร
                       จะเข้าไปอยู่ในวงสนทนาและเริ่มต้นการสนทนา
                                                                              ิ
                              3.2 พิจารณาผู้เข้ารับการพัฒนาที่มีลักษณะร่วมในการท ากจกรรมสุนทรียสนทนาเบื้องต้น
                       ก่อน คือ เป็นคนที่แคร์ความรู้สึก อ่อนโยน ขี้เกรงใจ ปฏิเสธคนยาก ชอบช่วยเหลือ มีน้ าใจ สุภาพ

                       นุ่มนวล ไม่ชอบขัดแย้ง อะไรก็ได้ และดูแลห่วงใย ชอบการสนทนา
   381   382   383   384   385   386   387   388   389   390   391