Page 385 - 049
P. 385

346


                                                         รายการประเมิน
                         ขั้นที่ 3 การพัฒนา
                         รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการบริหารความขัดแย้ง ส าหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด

                       ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามแนวจิตตปัญญา ดังนี้
                         วัตถุประสงค์
                         1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความพร้อมและผ่อนคลายในการพัฒนา

                         2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการบริหารความขัดแย้ง
                         3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องจิตตปัญญาศึกษา
                         4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาเกิดการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานภายในตนเอง
                         กระบวนการ

                         ใช้กระบวนการตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา ดังนี้
                         1. กิจกรรมเตรียมพร้อม
                                                                                                ึ
                         เป็นกิจกรรมที่ใช้สติครุ่นคิด ใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง ให้จิตสงบนิ่งอยู่กับตนเองในเรื่องที่ศกษา และ
                                                                                      ั้
                       เฝ้าดูเนื้อหาความรู้ที่อยู่ภายในจิตส านึกของตนเอง เป็นการตรวจสอบตนเองทงความคิด อารมณ์
                       ความรู้สึก มุมมองที่มีต่อโลก ความรู้สึกที่มต่อตนเอง (Sense of Self) การพูดคุยภายในกับตนเอง
                                                         ี
                                                                     ื่
                                                        ์
                       (Talking Self) ความรู้และประสบการณที่ตนเองรับรู้ เพอให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความตระหนักรู้ใน
                       ตนเอง มีสติ รู้ตัว ความรู้สึกผ่อนคลายพร้อมที่จะเรียนรู้ พร้อมทั้งสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม ให้
                                                                                              ิ
                       รู้สึกสงบเย็น เปิดเสียงเพลงประกอบเบาๆ มีการสื่อสารกับผู้ร่วมกิจกรรมอย่างกัลยาณมตร ซึ่งมี
                       แนวทางปฏิบัติ ดังนี้
                              1.1 ให้ผู้เข้ารับการพัฒนาผ่อนคลายในบรรยากาศของห้องที่เป็นสัดส่วน เงียบสงบ ปรับ
                       อุณหภูมิห้องให้รู้สึกสบาย โดยให้หายใจเข้า-ออกช้าๆ ลึกๆ ปล่อยร่างกายตามสบายและผ่อนคลาย

                       ค่อยๆ รู้สึกถึงแรงโน้มถ่วงของโลก นั่งสบายๆ ไม่เกร็ง และอยู่ในความสงบ เพงความสนใจที่การ
                                                                                      ็
                       หายใจ ผ่อนลมหายใจเข้าออกลึกๆ ช้าๆ ปล่อยให้ความคิดอิสระ เมื่อรับรู้ว่าก าลังคิดเรื่องอะไรอยู่ก็
                       ตาม เช่น ปัญหาการท างาน ความขัดแย้งในองค์กร หรือความรู้สึกสับสนต่างๆ ไม่ต้องตามความคดนั้น
                                                                                                      ิ
                       หรือปล่อยให้ความคิดนั้นล่องลอยหายไป ผ่านเข้ามาและก็ล่องลอยหายไปเอง สิ่งที่อยู่กับที่คือตัวตน
                       ของเรา สิ่งที่เคลื่อนไหวเข้ามาและหายไปเองโดยไม่ได้มากระทบตัวเราคือความคิด และปัญหาหรือ

                       ความรู้สึกต่างๆ โดยใช้เวลาประมาณ 2 หรือ 3 นาที จนถึง 5 นาที หรือมากกว่านั้น
                              1.2 หลังจากนั้นหายใจตามปกติ เพ่งความสนใจไปที่หัวใจ นึกถึงเหตุการณ์หรือความรู้สึก
                       ประทับใจที่มีให้ส าหรับใครบางคนในปัจจุบันหรือในอดีต เพ่งความสนใจถึงความสุขหรือความสนุกใน

                       ชีวิตและควบคุมอยู่กับความรู้สึกนั้น พร้อมทั้งเผื่อแผ่ความสุข ความประทับใจให้ตนเองและให้คนอื่น
                       หากเกิดความสับสนในใจให้ดึงความสนใจกลับมาสู่บริเวณหัวใจอีกครั้ง ใช้เวลาประมาณ 3-5 นาที
                       เปิดเพลงเสียงธรรมชาติ เพื่อให้เกิดสมาธิและรู้สึกผ่อนคลาย ปลดปล่อยความตึงเครียดและช่วยให้อยู่
                       กับตนเองในปัจจุบันเพิ่มขึ้น
   380   381   382   383   384   385   386   387   388   389   390