Page 101 - 049
P. 101
87
ี
ี่
ี่
ิ
ี
ื่
ิ
นอกจากแนวทางการบรหารทกล่าวมานั้น ยังมผู้เสนอแนวคดอย่างอนทใกล้เคยงกัน
ื
ี
ี
อก เช่น Deep (1978) เสนอว่า วิธการพื้นฐานในการจัดการความขัดแย้งก็คอ
ุ
ึ
ื่
1. การสรางสรรค์หรอการกระต้นความขัดแย้งทเปนผลดข้นมา เมอองค์กรเฉอยชาหยุด
ี
ื
้
ี่
็
ื่
อยู่กับทหรอล้าหลัง ระดับของความขัดแย้งต าเกินไป แนวทางด าเนนการท าได้โดยการกระต้นให้
ื
ี่
ุ
่
ิ
ิ
ิ
ี
ความขัดแย้งมประสทธภาพ
ี่
ู
ี
2. การปองกันความขัดแย้งทเปนผลราย เมอความขัดแย้งมระดับสงเกินพอด จนอาจ
้
้
ื่
็
ี
ื
ิ
่
ิ
ี่
เปนอันตรายต่อการปฏบัตงานหรอปองกันมให้ความขัดแย้งทไม่มประโยชน์เกิดข้น ซงแนวทาง
ึ
็
้
ึ
ิ
ี
ุ
ด าเนนการท าได้โดยการลดระดับความรนแรงลง
ิ
้
ั
็
ื่
ี่
ี่
ึ
3. การแก้ปญหาความขัดแย้งทเปนผลรายถ้ามันเกิดข้นมา เมอเกิดความขัดแย้งทไม่เปน
็
ิ
ื
ุ
ประโยชน์ในกล่มหรอในองค์กร แนวทางด าเนนการท าได้โดยท าให้ความขัดแย้งหมดศักยภาพไป
ี
ุ
ิ
ิ
้
วิจตร วรตบางกูร (2531) ได้เสนอวิธปองกันความขัดแย้งแก่ผู้บรหารไว้ดังน้ ี
ื่
็
ู
ี
ื
1. ท าตัวเหมอนฟองน ้า อดทนต่อท่าทอันเปนศัตรต่อคนอน อย่าท าตัวเปนกระจกเงา
็
เพราะการโต้ตอบปฏกิรยาทเปนปฏปกษ์จะเปนการกระพือความขัดแย้งให้รนแรงข้น
ึ
ั
ิ
ิ
ี่
็
ิ
็
ุ
ั
่
2. พึงระวังการแยกค่กรณออกจากกัน เพื่อให้ต่างฝายต่างเย็นลง บางคร้งกลับท าให้
ี
ู
ุ
สถานการณตงเครยดยิ่งข้น เพราะต่างมเวลาหาข้อสนับสนน ข้อแก้ตัวมากข้น การจับแยกควรมั่นใจ
ี
์
ึ
ี
ึ
ึ
และท าให้ทั้งสองฝายมั่นใจว่าจะไม่มการหาข้อถกเถยงอก
ี
่
ี
ี
็
ู
ึ
้
ึ
่
ี่
3. ให้ความส าคัญต่อความรสกขมขนมากกว่าความส าคัญในประเดนทขัดแย้งกันอยู่ซง
ื่
์
ี
จะช่วยลดความตงเครยด และลดความรนแรงของสถานการณได้บ้าง
ึ
ุ
นอกจากน้ March and Simon (1958) ได้เสนอแนวทางแก้ปญหาความขัดแย้งไว้ 4
ั
ี
ประการคอ
ื
ี่
1. การเลอกแนวทางทท าให้เกิดความพึงพอใจร่วมกัน ให้ความส าคัญกับข้อมูลข่าวสาร
ื
ิ
่
2. การเกล้ยกล่อมโดยการใช้เทคนคศปละชักจูงเพื่อให้ทกฝายเหนกับประโยชน ์
ิ
็
ี
ุ
ส่วนรวม เกิดความร่วมมอกันปฏบัตงาน
ื
ิ
ิ
ิ
3. การต่อรอง โดยยึดมั่นอยู่บนพื้นฐานของความยุตธรรม
ุ
ี
ื
ื
4. กลวิธทางการเมองโดยการใช้อ านาจต่อรองด้วยการรวมตัวกันระหว่างบคคลหรอ
กล่ม เพื่อให้มพลังอ านาจมากข้นในการเจรจาต่อรอง
ุ
ึ
ี
ิ
ั
ี
ี
ิ
ิ
ศรวรรณ เสรรตน์ (2541) กล่าวว่า ผู้บรหารทดไม่ต้องการขจัดความขัดแย้งอย่างเต็มท ี่
ี่
ั
็
ถ้าเปนไปได้ เพราะความขัดแย้งก่อให้เกิดประโยชน์ได้อย่างมากเช่นกัน บางคร้งในด้านการจัดการ
ั
ี
ก็เกี่ยวพันกับการสรางความขัดแย้งด้วย ดังนั้นผู้บรหารต้องมความสามารถไม่เพียงแต่แก้ปญหา
ิ
้
ุ
ุ
้
ิ
ความขัดแย้งทม่งท าลายแต่จะต้องกระต้นความขัดแย้งเชงสรางสรรค์ให้มอย่างเหมาะสมด้วย
ี่
ี