Page 57 - 025
P. 57
57
ู
ี
ิ
ื
ี
ทิศทางในการด าเนินงาน ฯลฯ ของโรงเรยน การที่ฝ่ายบรหาร ครผู้สอน ผู้ปกครองนักเรยน หรอ
ฝ่ายอื่นๆ เพียงฝ่ายเดียวหรือบางฝ่ายจะแก้ไขเปลี่ยนแปลง
อย่างไรก็ตาม ความเห็นของคนย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการณ์และเวลา
ฉะนั้น แผนกลยุทธ์ของโรงเรยนที่จัดท าไว้อย่างดีเยี่ยมในขณะหนึ่งนั้นก็จะใช้ได้ดีในช่วงเวลาหนึ่ง
ี
ั
เท่านั้น ไม่สามารถยืนยาวได้ตลอดกาล ควรมีการแก้ไขปรบปรงใหม่ให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ที่
ุ
ี
่
เปลี่ยนแปลงไป โดยต้องระดมความรวมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายของโรงเรยนเช่นเดียวกับการ
จัดท าครั้งแรก
จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์ได้ดังนี้ คือ
1. การเตรียมการวางแผน หมายถึง การเตรียมการด้านต่างๆ คือ
ี
ู้
้
1.1 การสรางความรความเข้าใจเกี่ยวกับแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนให้
ู
ี
บุคลากรทุกฝ่าย ได้แก่ นักเรยน ผู้ปกครอง คร ผู้อานวยการสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา
สถานประกอบการ หน่วยงาน องค์กรท้องถิ่น และบุคคลในชุมชน
1.2 แต่งตั้งคณะท างาน จากตัวแทนของบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้ครอบคลุม
ทุกกลุ่มหรือมากกลุ่มที่สุด
2. การจัดท าแผน
2.1 การก าหนดสภาพปัจจุบันของโรงเรยน เช่น สภาพที่ตั้ง ขนาดพื้นที่
ี
อาคารเรียน หลักสูตรที่เปิดสอน จ านวนนักเรียน จ านวนครู เป็นต้น
2.2 การก าหนดความคาดหวังของโรงเรยน เช่น นโยบาย วิสัยทัศน์ โดย
ี
ี
การเก็บรวบรวมข้อมูลที่จ าเป็น ได้แก่ ข้อมูลการด าเนินงานของโรงเรยน ข้อมูลด้านนโยบาย ข้อมูล
ด้านความต้องการของนักเรยน ข้อมูลด้านความต้องการของผู้ปกครองนักเรยน ข้อมูลความคิดเห็น
ี
ี
ื
ื
หรอความต้องการของชุมชน บุคคล องค์กรเอกชน สถานบันการศึกษา หรอสถานประกอบการที่
รับนักเรียนไปเรียนต่อหรอเข้าท างาน เป็นต้น แล้วน าข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาวิเคราะห์หาความถี่
ื
ของความต้องการจากกลุ่มที่มีส่วนได้เสียต่างๆ เลือกที่มีความคิดเห็นตรงกันมากที่สุด เพื่อน ามา
ก าหนดความคาดหวังของโรงเรียน
ี
2.3 ก าหนดพันธกิจ ประกอบด้วยความคาดหวังของโรงเรยนกับศักยภาพ
ของโรงเรียน
2.4 ก าหนดเป้าหมาย เป็นการก าหนดเป้าหมายที่ควรจะท าได้ให้ชัดเจน
สามารถบอกสภาพความส าเร็จและสามารถวัดได้
2.5 ก าหนดจุดเน้นในการด าเนินการ เป็นการเขียนที่ระบุให้เห็นแนวทาง
ว่าสาระส าคัญของพันธกิจหรือจุดเน้นของพันธกิจ