Page 62 - 025
P. 62
62
ี
ศึกษา จังหวัดสกลนคร ตามความคิดเห็นของผู้บรหารโรงเรยน ผู้ช่วยผู้บรหารโรงเรยน หัวหน้า
ิ
ิ
ี
แผนงานและครูผู้สอน จ านวน 331 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า มี 2
ส่วน คือ สภาพและปัญหาการด าเนินงานตามกระบวนการวางแผน จ านวน 49 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่น
โดยรวม .94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบ
สมมติฐานด้วยวิธีการทางสถิติ โดยใช้ F-test (One Way ANOVA) ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพการ
ด าเนินงานตามกระบวนการวางแผนโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้นตอนพบว่า มี
สภาพการดาเนินงานอยู่ในระดับมาก 3 ขั้นตอน เรยงล าดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ขั้นจัดท าแผน
ี
ั
ี
ขั้นการเตรยมการวางแผนและขั้นปฏิบัติตามแผน ส่วนขั้นติดตามและประเมินผลกับขั้นการปรบ
ั
แผนหรือจัดท าแผนใหม่ มีสภาพการด าเนินการอยู่ในระดับปานกลาง ส าหรบปัญหาการด าเนินงาน
โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้นตอนพบว่า มีปัญหาการด าเนินงานอยู่ใน
ระดับปานกลาง 3 ขั้นตอน เรยงล าดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ขั้นการปรบแผนหรอจัดท าแผน
ี
ั
ื
ี
ใหม่ ขั้นติดตามและประเมินผลและขั้นการเตรยมการวางแผน ส่วนขั้นจัดท าแผนและปฏิบัติตาม
ิ
แผน มีปัญหาการด าเนินงานอยู่ในระดับน้อย 2) ผู้บรหาร ผู้ช่วยผู้บรหาร หัวหน้าแผนงานและ
ิ
ครูผู้สอน มีความคิดเห็นต่อสภาพการด าเนินงานตามกระบวนการวางแผนโดยรวมแตกต่างกันอย่าง
มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้นตอน มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมี
ี
นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการเตรยมการวางแผน ขั้นการจัดท า
แผน ขั้นปฏิบัติตามแผน และขั้นการปรับแผนหรือจัดท าแผนใหม่ ส่วนขั้นติดตามและประเมินผล มี
ั
ความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ส าหรบด้านปัญหาการด าเนินงานโดยรวมมีความคิดเห็นแตกต่างกัน
ี
อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นการเตรยมการวางแผน ขั้นการจัดท า
แผนและขั้นปฏิบัติตามแผน ส่วนขั้นติดตามและประเมินผลและขั้นการปรบแผนหรอจัดท าแผน
ั
ื
ใหม่ มีความคิดเห็นต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผู้บริหาร ผู้ช่วยผู้บรหาร หัวหน้า
ิ
แผนงานและครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการท างานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อสภาพการด าเนินงาน
ตามกระบวนการวางแผนโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนด้านปัญหา
การด าเนินงานโดยรวม มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณา
เป็นรายขั้นตอน พบว่า มีความคิดเห็นแตกต่างกันทุกขั้นตอน โดยขั้นตอนการเตรยมการวางแผน
ี
ื่
และจัดท าแผน มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ .05 ส่วนขั้นตอนอนๆ มีความ
คิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) ผู้บรหาร ผู้ช่วยผู้บรหาร หัวหน้า
ิ
ิ
ี
ู
แผนงานและครผู้สอนที่ปฏิบัติงานในโรงเรยนที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อสภาพการ
ด าเนินงานโดยรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้นตอน พบว่า มีความคิดเห็นแตกต่างกัน
อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05 คือ ขั้นตอนการปฏิบัติตามแผน และขั้นการเตรยมการ
ี