Page 59 - 025
P. 59

59







                       งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง


                              กมล จิตบุญ (2543)  ได้ศึกษากระบวนการวางแผนด าเนินงานตามโครงการเกษตรทฤษฎี

                                                    ี
                       ใหม่ตามแนวพระราชด ารในโรงเรยนประถมศึกษา สังกัดส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดน่าน
                                             ิ
                                                                          ู
                                                                                                       ี
                       กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บรหารโรงเรยน ครผู้สอน และคณะกรรมการโรงเรยน
                                                                    ี
                                                           ิ
                       ประถมศึกษา สังกัดส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดน่าน จ านวน 204  คน จาก 34  โรงเรยน
                                                                                                       ี
                       เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดย
                                                      ้
                       ใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ารอยละ และการทดสอบความแปรปรวน ซึ่งผลการวิจัย พบว่า
                                                                     ี
                                         ู
                                   ี
                                                                                                    ่
                          ิ
                       ผู้บรหารโรงเรยน ครผู้สอน และคณะกรรมการโรงเรยนที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีส่วนรวมใน
                       กระบวนการวางแผนด าเนินงานตามโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชด าริไม่แตกต่างกัน

                              ขจรเกียรติ มานิกลักษณ์ (2543) ศึกษาเรอง กระบวนการวางแผนในโรงเรยนประถมศึกษา
                                                               ื่
                                                                                            ี
                       สังกัดส านักงานการประถมศึกษา  จังหวัดอดรธานี การวิจัยครงนี้มีความมุ่งหมาย  เพื่อศึกษาการ
                                                            ุ
                                                                            ั้
                       ปฏิบัติตามกระบวนการวางแผนในโรงเรยนประถมศึกษา สังกัดส านักงานการประถมศึกษาจังหวัด
                                                         ี
                       อุดรธานี ตามขั้นตอนกระบวนการวางแผน 4 ขั้นตอน คือ ขั้นศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความ
                                                                                                      ิ
                       ต้องการ ขั้นก าหนดแผน ขั้นน าแผนไปปฏิบัติ และขั้นติดตามประเมินผลแผน กลุ่มตัวอย่างผู้บรหาร
                            ี
                       โรงเรยนและหัวหน้างาน จ านวน 560  คน โดยการสุ่มแบบ 2  ขั้นตอน และก าหนดขนาดกลุ่ม
                       ตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์รอยละ 10  เครองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามความ
                                                      ื่
                                          ้
                       คิดเห็น เกี่ยวกับขบวนการวางแผนในโรงเรยนประถมศึกษา เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่าตาม
                                                            ี
                       แบบของลิเคิรท มีความเชื่อมั่น 0.97  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบน
                                   ์
                       มาตรฐาน  และการทดสอบสมมุติฐานใช้ F-test  ผลการวิจัยพบว่า  1)  บุคลากรโดยส่วนรวมและ

                       จ าแนกตามสภาพ  และขนาดโรงเรยนเห็นว่ามีการปฏิบัติตามกระบวนการวางแผนในโรงเรยน
                                                                                                       ี
                                                      ี
                       ประถมศึกษา สังกัดส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดอดรธานี โดยภาพรวมและแต่ละขั้นตอนใน
                                                                      ุ
                       ระดับปานกลาง  ยกเว้นผู้บรหารโรงเรยนเห็นว่ามีการปฏิบัติโดยภาพรวม และเป็นรายด้านอยู่ใน
                                               ิ
                                                        ี
                                                 ี
                                         ิ
                       ระดับมาก  2)  ผู้บรหารโรงเรยนและหัวหน้างานเห็นว่ามีการปฏิบัติโดยภาพรวมแต่ละขั้นตอน
                                                                        ิ
                       แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยผู้บรหารโรงเรยนเห็นว่ามีการปฏิบัติมากกว่า
                                                                                ี
                                                        ี
                       หัวหน้างาน  นอกจากบุคลากรในโรงเรยนที่มีขนาดแตกต่างกันเห็นว่ามีการปฏิบัติโดยภาพรวมแต่
                       ละขั้นตอนแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยบุคลากรในโรงเรยนขนาดใหญเห็น
                                                                                          ี
                                                                                                      ่
                                                         ี
                       ว่ามีการปฏิบัติมากกว่าบุคลากรในโรงเรยนขนาดกลางและขนาดเล็กและไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
                                             ี
                       สถานภาพกับขนาดโรงเรยนเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกระบวนการวางแผนทั้งโดยภาพรวมแต่ละ
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64