Page 55 - 025
P. 55
55
ี
็
ทางเลือกต่างๆ เปรยบเทียบว่าวิธีการและเทคโนโลยีใดที่เหมาะสมกว่า กล่าวคือ ท างานให้ส าเรจ
อย่างมีคุณภาพใช้เวลาและค่าใช้จ่ายน้อย
องค์ประกอบที่ 7 การติดตามประเมินผลและการรายงาน ควรก าหนดเป็นกรอบ
หรือแนวทางกว้างๆ เพื่อมิให้มีการละเลยการติดตามประเมินผล และท าการประเมินได้ตรงประเด็น
ุ
ที่ต้องการทราบและต้องการน าไปใช้ประกอบการพิจารณาปรบปรงการด าเนินงาน เช่น ก าหนด
ั
ประเด็นที่ต้องติดตามประเมินผลและก าหนดช่วงเวลาการประเมินไว้ ส่วนการรายงานผลการ
ประเมินนั้น ควรจัดท าเป็นเอกสารเผยแพร เพราะนอกจากรายงานผลการประเมินต่อสายงานบังคับ
่
บัญชาแล้วต้องรายงานต่อสาธารณชนด้วย
องค์ประกอบที่ 8 แผนงบประมาณ เพื่อมิให้แผนงานต่างๆ เขียนขึ้นอย่างเพ้อฝัน
ิ
แต่ให้มีความเป็นไปได้สูง ใกล้เคียงความเป็นจรงมากที่สุด จึงต้องก าหนดงบประมาณ รายรบและ
ั
รายจ่ายพร้อมทั้งแหล่งที่มาของเงินงบประมาณด้วย
องค์ประกอบที่ 9 บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในโรงเรยนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ี
การก าหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากรผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจะช่วยให้ผู้รบผิดชอบแต่ละฝ่าย แต่ละคน
ั
ตระหนักถึงภาระหน้าที่
องค์ประกอบที่ 10 สัตยาบัน เป็นการลงนามเป็นสัตยาบันไว้ เพื่อให้แต่ละฝ่ายร่วม
รับผิดชอบในสิ่งที่ร่วมเขียนมาแล้ว
3. ขั้นน าไปสู่การปฏิบัติ
แผนกลยุทธ์เป็นข้อก าหนดที่เป็นหลักการ หากน าสู่การปฏิบัติโดยตรง อาจไม่มี
ความชัดเจนพอ ผู้ปฏิบัติจ าเป็นต้องคิดหาแนวทางและรายละเอยดการด าเนินงานเอง ท าให้การ
ี
ี
ปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเป็นไปตามความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติแต่ละคนได้ การน า
หลักการในแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติให้ถูกต้อง มีแนวทางชัดเจน ผู้รวมงานมีความเข้าใจในลักษณะ
่
ิ่
ื
ั
งานตรงกัน สามารถเปลี่ยนตัวผู้รบผิดชอบงานได้โดยที่งานไม่เสียหาย หรอต้องเรมต้นใหม่
โรงเรยนจึงควรด าเนินการตามสาระที่ก าหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนตามล าดับ 6 ขั้น ดังนี้
ี
ี
(กรมสามัญศึกษา. 2542 : 31 - 33)
ี
้
3.1 สรางความเข้าใจให้แก่บุคลากรภายในโรงเรยนและผู้ที่เกี่ยวข้องกับ
ี
สาระส าคัญของแผนกลยุทธ์ของโรงเรยน โดยโรงเรยนด าเนินงานการประชุม ชี้แจง
ี
ื่
ประชาสัมพันธ์โดยสื่อต่างๆ ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา คณะคร นักเรยน บุคลากรอนๆ
ี
ู
ผู้ปกครองและชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความรวมมือและสนับสนุนการพัฒนา
่
คุณภาพของสถานศึกษา