Page 50 - 025
P. 50
50
ิ
ั
2.2.3 ผู้บรหารและผู้ปฏิบัติงาน สามารถปรบตัวต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไปได้
พร้อมๆ กัน สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ี
ิ
2.2.4 ช่วยพัฒนาผู้บรหารขององค์กร เพื่อเตรยมพรอมขึ้นสู่ต าแหน่งผู้บรหาร
ิ
้
ระดับสูง
2.2.5 มีลักษณะที่ท้าทายความสามารถของสมาชิกองค์กร สมาชิกจะทุ่มเทก าลัง
ความรู้และความสามารถในการท างานให้แก่องค์กร
การวางแผนกลยุทธ์เป็นการวางแผนที่มีคุณภาพสูง และมีความสมบูรณ์ในตัว ซึ่งมีขอบเขต
ความหมายที่มีความลึกซึ้งและมีความส าคัญ ดังนี้ (ธงชัย สันติวงษ์. 2532 : 36)
1. ช่วยให้สมาชิกทุกฝ่ายขององค์กรมีความเข้าใจเกี่ยวกับทิศทางที่ตรงกัน
สามารถเข้ามาสนับสนุนได้ถูกต้องและพร้อมเพรียงกัน
2. ช่วยให้แผนงานและนโยบายต่างๆ ส าเร็จด้วยดี
ิ
ิ
3. ถือเป็นการบรหารจัดการที่เอาจรงเอาจังและเป็นการมุ่งบรหารให้สามารถลง
ิ
ลึกและครอบคลุมถึงเนื้อหาสาระส าคัญที่จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพได้ทั้งระบบ
4. สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการและบุคคลฝ่ายต่างๆ
5. ช่วยให้สามารถปรับตัวได้ทันและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง
ื
หรอการวางแผนกลยุทธ์โดยทั่วไปมีความส าคัญในประเด็นหลักๆ ดังนี้
1. เป็นเรื่องเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต รวมทั้งแนวโน้มที่น่าจะเป็นไปได้ โดย
่
การพิจารณาอย่างมีเหตุผล เป็นการตัดสินใจที่จะท าให้เกิดสิ่งหนึ่งสิ่งใดในระยะเวลาหนึ่งๆ ด้วยการ
พิจารณาจากตัวเลือกต่างๆ ที่เป็นประโยชน์และค านึงถึงสิ่งที่จะเป็นโทษแก่หน่วยงาน
2. การวางแผนกลยุทธ์เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องยืดหยุ่นได้ และเป็นหน้าที่ที่
บูรณาการหรือผสมผสานไปกับหน้าที่ในการบริหาร
ั
3. การวางแผนกลยุทธ์เป็นระบบที่มีความเชื่อมโยง 3 ระดับ อนได้แก่ แผนระยะ
ยาวหรือแผนกลยุทธ์ แผนระยะกลางหรือแผนงาน/โครงการ และแผนระยะสั้นหรือแผนปฏิบัติการ
ุ
จากความส าคัญของการวางแผนกลยุทธ์ที่กล่าวมา สรปได้ว่า การวางแผนกลยุทธ์มี
ี
้
ความส าคัญทั้งต่อองค์กรและสมาชิกในองค์กร เพราะจะช่วยให้องค์กรมีการเตรยมพรอมที่จะเผชิญ
้
่
กับการเปลี่ยนไปได้พรอมๆ กัน มีความเข้าใจทิศทางขององค์กรได้ตรงกัน มีส่วนรวมในการ
ก าหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ นโยบายและแนวทางการท างานรวมกัน สามารถเชื่อมโยงโครงการ
่
ื
ื
ื
หรอแผนระยะกลาง (Program หรอ Medium Range Planning) กับแผนระยะยาวหรอแผนกลยุทธ์
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรได้