Page 48 - 025
P. 48
48
ลักษณะของกิจกรรมที่ท า ระดับของแผน ระดับขององค์กร ความมุ่งหมายของแผน เป็นต้น แต่
อย่างไรก็ตาม ในแต่ละแผนอาจมีลักษณะหลายๆ ลักษณะ ผสมผสานกันอยู่ก็ได้
การวางแผนกลยุทธ ์
การวางแผนกลยุทธ์ เป็นการวางแผนเพื่อปรับทิศทางขององค์กรไปสู้วัตถุประสงค์ใหม่ ที่
จะต้องสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่ก าลังเปลี่ยนไป มีนักวิชาการ ได้ให้ความหมายและ
ความส าคัญ ไว้ดังนี้
1. ความหมายของการวางแผนกลยุทธ์
ั
อนันต์ เกตุวงศ์ (2541 : 3) ได้กล่าวว่า การวางแผนกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการตดสินใจ
ในเรองวัตถุประสงค์ขององค์การ การเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์เหล่านั้น ทรัพยากรที่จะต้องใช้เพื่อ
ื่
ท าให้บรรลุวัตถุประสงค์และในเรองนโยบายเพื่อเป็นแนวทางในการหามา การใช้และจ าหน่ายไป
ื่
ซึ่งทรัพยากรเหล่านั้น
ิ
ประชุม รอดประเสรฐ (2535 : 95) กล่าวว่า การวางแผนกลยุทธ์ เป็นกระบวนการตัดสินใจ
เพื่อด าเนินงานของหน่วยงานให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์แม้จะต้องเสี่ยงกับสภาวะแวดล้อมที่ไม่
แน่นอนหรอไม่สามารถคาดคะเนได้ โดยการตัดสินใจจะต้องเลือกแผนที่คาดว่าจะใช้ได้ดีที่สุด ไป
ื
เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน
ธงชัย สันติวงษ์ (2536 : 61) กล่าวถึงการวางแผนกลยุทธ์ ว่าเป็นการวางแผนเชิงรวมของทั้ง
ิ
องค์การ ที่กระท าโดยผู้บรหารระดับสูง ซึ่งจะเป็นการพิจารณาถึงแผนงานทั้งหมดทั้งองค์การ และ
เกี่ยวข้องกับการก าหนดทิศทางของแผนงานเพื่อที่จะก้าวไปสู่อนาคตที่มีช่วงระยะเวลายาว
ั
จุฬาลักษณ์ ณีรตนพันธุ์ (2540 : 35) ได้กล่าวว่า การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic planning)
หมายถึง การก าหนดเป้าหมาย พื้นฐาน วัตถุประสงค์ นโยบายและวิธีการอย่างเป็นระบบเพื่อ
ี
ื
น าไปสู่การก าหนดรายละเอยดในทางปฏิบัติหรอเป็นการน านโยบายและวิธีการต่างๆ ไปปฏิบัติ
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ เป็นการวางแผนระยะยาวกว่า 5 ปี อาจเป็น 10 – 15 ปี เป็น
การวางแผน โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ภายนอกของหน่วยงานเพื่อศึกษาข้อจ ากัด
ั
ั
่
ต่างๆ ศึกษาจุดหมายที่แท้จริงของหนวยงาน รวมทั้งทรพยากรที่จ าเป็นต้องได้รบการสนับสนุนเพื่อ
ไปสู่ทิศทางที่เฉพาะเจาะจง ผลการวางแผนกลยุทธ์จะช่วยให้เกิดการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพและ
เป็นระบบระเบียบโดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อน าไปสู่เป้าหมายของหน่วยงาน