Page 47 - 025
P. 47
47
5. ประเภทของแผนที่จัดท าในโรงเรียน
การแบ่งประเภทของแผนที่ด าเนินการในโรงเรยน อาจแบ่งออกได้หลายลักษณะ ซึ่งมี
ี
นักวิชาการ และหน่วยงานได้แบ่งประเภทของแผนในโรงเรียนไว้ ดังนี้
อนันต์ ระงับทุกข์ (2541 : 3) ได้แบ่งประเภทของแผนที่จัดท าในโรงเรยนมัธยมศึกษา กรม
ี
สามัญศึกษา โดยยึดตามระยะเวลาเป็นตัวก าหนด ดังนี้
1. แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 5 ปี
2. แผนพัฒนาการศึกษาประจ าปี
3. แผนปฏิบัติการประจ าปี
ี
กรมสามัญศึกษา (2541 : 1) ได้แบ่งแผนที่จัดท าในโรงเรยนเป็นแผนที่แบ่งตามระยะเวลา
ด าเนินงานตามแผน ได้ดังนี้
ี
1. แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 5 ปี เป็นแผนที่โรงเรยนก าหนดขึ้นเพื่อด าเนินการใน
ระยะ 5 ข้างหน้า โรงเรยนจะก าหนดแนวทางการพัฒนาในด้านต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์ เป้าหมาย
ี
กิจกรรม และงบประมาณไว้ในระยะเวลา 5 ปี ในปัจจุบัน แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 5 ปี เปลี่ยนมา
เป็นธรรมนูญโรงเรยนหรอธรรมนูญสถานศึกษา สิ่งที่แตกต่างจากแผนพัฒนาการศึกษาระยะ 5 ปี
ี
ื
ื
ี
คือ กระบวนการวางแผน แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 5 ปี เขียนขึ้นโดยโรงเรยนหรอสถานศึกษา
ส่วนรฐธรรมนูญโรงเรยนเป็นแผนแม่บทที่ก าหนดวิสัยทัศน์ และยุทธวิธีการด าเนินการไปสู่
ั
ี
็
ั
่
วิสัยทัศน์แห่งความส าเรจในระยะ 3 – 5 ปี โดยจัดท าเป็นลายลักษณ์อกษร เป็นข้อตกลงรวมกัน
ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน โดยคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า สถานศึกษา
จะด าเนินงานตามข้อตกลงที่ก าหนดไว้ร่วมกันนั้น (กรมวิชาการ.2540 : 5)
2. แผนพัฒนาการศึกษาประจ าปี เป็นแผนที่โรงเรยนได้ก าหนดขึ้นว่าในแต่ละปี
ี
การศึกษานั้นจะด าเนินการพัฒนาการศึกษาด้านใดบ้าง โดยจะอยู่ในกรอบที่ก าหนดไว้ใน
ี
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 5 ปี แต่จะมีรายละเอยดโดยวัตถุประสงค์ เป้าหมาย กิจกรรม และ
งบประมาณที่ชัดเจนมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อของบประมาณในการด าเนินการนั้นๆ
ิ
ั
3. แผนปฏิบัติการประจ าปี เป็นแผนที่โรงเรยนจะใช้ด าเนินการจรง ภายหลังที่ได้รบ
ี
การจัดสรรงบประมาณแล้ว โดยทั่วไปแล้ว จะน าเอาแผนพัฒนาการศึกษาประจ าปีมาเป็น
ั
ั
แผนปฏิบัติการประจ าปี ได้เลย หากแผนนั้นได้รบการอนุมัติงบประมาณตามที่เสนอ แต่หากได้รบ
งบประมาณมากกว่าหรอน้อยกว่าที่เสนอขออนุมัติไป ต้องน าแผนพัฒนาการศึกษามาปรบปรงให้
ุ
ั
ื
สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับอนุมัติก่อน
สรุปได้ว่า การแบ่งประเภทของแผนนั้น แบ่งได้หลายลักษณะ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่า จะยึดอะไร
เป็นหลักในการแบ่ง เช่น แบ่งตามลักษณะการใช้ ตามลักษณะเวลา ตามลักษณะวัตถุประสงค์