Page 45 - 0018
P. 45

37



                                                                                            ื่
               ตารางท 4-3 แสดงระดับความพึงพอใจต่อกิจกรรมการพัฒนาทักษะอาชีพ และการปรับตัวเพอลดความเหลื่อมล้ำ
                      ี่
               ด้านรายได้


                                         การพัฒนาทักษะอาชีพ                       X      S.D.    ระดับ

                     1. การเลี้ยงนกกระทา                                          4.07   0.24    มาก


                     2. การทำอาหาร-ขนมพื้นบ้าน                                    4.68   0.17   มากที่สุด

                     3. การเกษตร (ปลูกผัก)                                        4.38   0.07    มาก

                     4. งานฝีมือ (ตัดเย็บผ้า)                                     4.61   0.21   มากที่สุด

                     5. การเกษตร (ทำนา-ฟื้นฟูนาร้าง)                              4.23   0.09    มาก

                     6. การเลี้ยงปลาสลิดดอนนา                                     4.51   0.23   มากที่สุด

                                                รวม                               4.41   0.16    มาก




               4.3 กำหนดแนวทางการบริการวิชาการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาความ และนำไปสู่การ
               ปฏิบัติงานที่บรรลุเป้าหมายของหน่วยงานที่วางไว้

                                            ั
                      การวิเคราะห์แนวทางในการพฒนาทักษะอาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน นำไปสู่การปฏิบัติงานที่ประบรรลุ
               เป้าหมายของหน่วยงานที่วางไว้ สามารถแบ่งการนำเสนอแนวทางของการให้บริการวิชาการด้านการพัฒนาทักษะ
               อาชีพได้ ดังนี้

                                1) ผู้ปฏิบัติงานควรวางแผนการดำเนินงานที่มีความสอดคล้องกับขอบเขตงาน ความ
               รับผิดชอบหลักของหน่วยงาน
                                                                                                            ื่
                                2) ขั้นตอนการลงพื้นที่เพื่อปฏิบัติการหรือให้บริการ ควรสร้างบรรยากาศการยอมในชุมชน เพอ
               การปฏิบัติที่ราบรื่นและบรลุเป้าหมายที่วางไว้
                                3) ผู้ให้บริการควรมีการตรียมพร้อมในด้านการสื่อสารในภาษาถิ่น หรือการใช้ความพยายามใน

               การสื่อสารเพื่อให้ผู้รับบริการไม่เกิดความอึดอัดใจ รวมไปถึงการสื่อสารผ่านบุคคลกลาง ในการแปลความหมาย เพื่อให้
               เกิดความเข้าใจที่ตรงกันและการทำความเข้าใจในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
                                4) ผู้ให้บริการวิชาการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพ จำเป็นต้องมีเทคนิคในการถ่ายทอดองค์

               ความรู้และทักษะอาชีพ และสามารถให้คำปรึกษากับผู้รับบริการพัฒนาทักษะอาชีพได้อย่างเชี่ยวชาญ ความรู้และ
               ทักษะที่ควรมีในการพัฒนาทักษะอาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน คือ ความรู้และทักษะอาชีพด้านการเกษตร
               ความรู้และทักษะอาชีพด้านอาหาร ความรู้และทักษะอาชีพด้านฝีมือแรงงาน ความรู้เรื่องการบริการบริจัดการกลุ่ม
               เป็นต้น
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50