Page 33 - 2564
P. 33

สิ่งที่ต้องการให้เกิด                             ผู้รับ

                การปฏิบัติอย่างจริงจัง   กลไกการดำเนินงาน/วิธีการ   ผิดชอบ       การวัดผลสำเร็จ/ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด
                5 ด้าน เพื่อให้บรรลุ  ✓SWOT                                4) การนำองค์กรมีตัวชี้วัด 10 ตัว
                วิสัยทัศน์         ✓ ปรับปรุงกระบวนการทำงาน                5) การเงินและการตลาดมีตัวชี้วัด 5 ตัว

                2. ประสิทธิผลของการ ✓มีการจัดตั้งงบประมาณ           MT     การบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
                พัฒนาบุคลากร       ✓การนำผลการอบรมมาพัฒนาและ               ระดับองค์กร ร้อยละ 85.82 (ภาพที่ 7.5-07)
                                   เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน              ผลการดำเนินงานตามกรอบเวลา

                                   ✓ใช้วงจรคุณภาพ PDCA- Par เป็น
                                   กรอบในการปฏิบัติตามแผนงาน
                3. การพัฒนา        ✓ ขับเคลื่อนโดยการเชิญวิทยากรมา  INT    ได้กลุ่มนวัตกรรมที่ขับเคลื่อนจำนวน 4 กลุ่ม

                นวัตกรรมเชิงพาณิชย์  อบรมปฏิบัติการ                        1) ชุดข้อมูลและทรัพยากรสารสนเทศเพื่อธุรกิจ
                                   ✓ ประชุมพิจารณาจัดกลุ่มนวัตกรรม         2) ศูนย์ดูแลสุขภาพและการออกกำลังกาย

                                   เพื่อจัดทำให้เป็นเชิงพาณิชย์            3) ศูนย์อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
                                   ✓จะตั้งคณะทำงานขับเคลื่อน               4) Best smart tutor

                       สำนักฯ ทำให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง 3 ประเด็นสำคัญ คือ 1) การปรับปรุงกระบวนการทำงาน

               และตัวชี้วัดหลัก 5 ด้าน เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ 2) ประสิทธิผลของการพัฒนาบุคลากร 3) การพัฒนานวัตกรรม
               เชิงพาณิชย์ โดยกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มขึ้นเพื่อการติดตามผลดำเนินงาน (ภาพที่ 2.2-01) และทำให้ระบบการ

                                                       ึ้
               ประเมินการพัฒนาบุคลากรมีประสิทธิภาพมากขน โดยมีการเพิ่มตัวชี้วัดการพัฒนางานจากผลการพัฒนาตนเอง
               เพิ่มขึ้น โดยกำหนดให้มีการทำข้อตกลงภาระงานใน TOR ทั้งงานประจำ งานพัฒนาตนเอง งานตอบสนองต่อ
               นโยบาย เพื่อให้บรรลุเป้าหมายวิสัยทัศน์ร่วมกัน


               1.2 การกำกับดูแลองค์กรและการทำประโยชน์ให้สังคม

                       สำนักวิทยบริการให้ความสำคัญในการกำกับดูแลองค์กรและการทำประโยชน์ให้สังคมโดยใช้หลักการ

               FOREST และ TREE ทั้งเชิงรุกและการตอบสนองจากผู้ใช้บริการ โดยมีการดำเนินการ ดังนี้

               1.2ก การกำกับดูแลองค์กร

               1.2ก(1) ระบบการกำกับดูแลองค์กร สำนักฯ ใช้ระบบการกำกับดูแลองค์กรตามแนวคิด FOREST และ TREE

               เป็นแนวทางกำกับการดำเนินงาน ผ่านค่านิยม SQI มีการจัดโครงสร้างการบริหารจัดการองค์กรตามภาพที่

               OP1-06 และมีคณะกรรมการกำกับดูแลตามภารกิจสำคัญ ประกอบด้วยคณะกรรมการชุดต่าง ๆ (ภาคผนวก
               A3) ซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการดำเนินงานสำนักวิทยบริการ และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและ

               ควบคุมภายใน มีระบบการกำกับดูแลองค์กร 2 ระดับ คือ การกำกับภายในองค์กรโดยใช้แนวคิด TREE และ
               การกำกับตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยจากคณะกรรมการกำกับดูแลองค์กรและมีระบบประเมินผลการ

               ดำเนินงาน 2 ส่วน คือ 1) ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการประจำสำนักฯ และผู้บริหาร และ

               2) ระบบประเมินผลการดำเนินงานประจำปีโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในที่แต่งตั้งโดย
               มหาวิทยาลัย (ภาพที่ 1.2-01) คณะกรรมการกำกับดูแลสำนักฯ ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการดำเนินงาน

               สำนักฯ มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ 1) เสนอแนะและให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาส่วนงาน 2) เสนอแนะและให้ความ
               เห็นชอบการกำหนดแนวทางการบริหารบุคคล การเงิน พัสดุ และทรัพย์สินของส่วนงาน 3) เสนอแนะและให้


                 หมวด 1 การน าองค์กร                                                                   21
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38