Page 23 - 2564
P. 23
ด้าน ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ โอกาสเชิงกลยุทธ์
ทรัพยากร SC6: การเพิ่มขีดความสามารถของ SA3: บุคลากรมีทักษะด้าน SO4: การส่งเสริมให้บุคลากรมี
บุคคล บุคลากรสู่การเป็น Team การพัฒนาโปรแกรม ทักษะที่จำเป็นและเป็นความ
Excellence และพร้อมรับการ SA4: บุคลากรมีความ ต้องการในอนาคต และพร้อมรับ
เปลี่ยนแปลงในอนาคต เชี่ยวชาญทางวิชาชีพท ี่ การเปลี่ยนแปลง
หลากหลาย SO9: การพัฒนาบริการใหม่
SA6: บุคลากรมีแนวคิด
นวัตกรรม
ระบบบริหาร SC4: การพัฒนาระบบสำนักงาน SA2: ระบบสารสนเทศ SO2: PSU Library 1 System
จัดการองค์กร อัจฉริยะเพื่อการบริหารและการ 5 วิทยาเขต
ตัดสินใจ (OAR Smart Office)
SC5: การเพิ่มรายได้ให้สามารถพึ่งพา
ตนเองได้อย่างยั่งยืน
SC8: การพัฒนานวัตกรรมเชง
ิ
พาณิชย์
2ค ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ สำนักฯ มีการพัฒนาและปรับปรุงระบบงาน และกระบวนการ
ื่
ื่
ทำงานหลักขององค์กรที่กำหนดขึ้นเพอใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการเพอส่งมอบแก่ผู้ใช้บริการ โดยใน
ื่
ปีการศึกษา 2564 สำนักฯ โดยคณะกรรมการ TQA มีการทบทวนกระบวนการทำงานเพอเพิ่มประสิทธิผลของ
การปฏิบัติงาน โดยปรับปรุงระบบการออกแบบ จัดการและปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการทำงานที่
สำคัญ (ภาพที่ 6.1-01) ซึ่งจะนำไปสู่การปรับปรุงผลการดำเนินงาน นอกจากนี้สำนักฯ กำหนดแนวทางในการ
พัฒนาคนเพื่อการพัฒนางาน โดยใช้ระบบ HRM ซึ่งประกอบด้วย ระบบย่อยต่าง ๆ ดังนี้ 1) ระบบประเมินผล
การปฏิบัติงานรายบุคคล (TOR for OAR, TOR Online) 2) ระบบประเมินสมรรถนะ (Competency Online)
นอกจากนี้ยังใช้ SIPOC Model, Lean ,7ส, Risk Management และ KM เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงการ
ดำเนินงานของสำนักฯ
โครงร่างองค์กรส านักวิทยบริการ 11