Page 84 - GL004
P. 84
3. บูรณาการสิ่งแวดลอมศึกษาฯ กับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและ
นโยบายสาธารณอื่นๆ
เปนการนําสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ไปเจือผสมควบคูกับการทํางานดานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม อาทิ การจัดการขยะ การจัดการและอนุรักษปา การลดมลพิษทางอากาศ น้ำ การปรับปรุง
ภูมิทัศน การฟนฟูดิน ฯลฯ ซึ่งเปนการจัดการ “คน” ควบคูไปกับการจัดการ “สิ่งแวดลอม” โดยทั่วไป
หนวยงานและองคกรตางๆ อาจมีกิจกรรมสิ่งแวดลอมศึกษาฯ อยูบางแลว การมีแนวคิดที่ชัดเจน
เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมศึกษาฯ และการใหความสําคัญกับการดําเนินการดังกลาวมากยิ่งขึ้น จะชวย
เสริมสรางขบวนการสิ่งแวดลอมศึกษาฯ และทําใหการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดผล
อยางยั่งยืนมากขึ้น
นอกจากนั้น ยังมีความจําเปนที่จะตองนําสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ไปแทรกใสไวในนโยบายดาน
อื่นๆ อาทิ นโยบายดานการทองเที่ยว การขนสง อุตสาหกรรม พลังงาน ฯลฯ เพื่อใหประชาชนมีความ
เขาใจถึงความสัมพันธและผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทั้งทางบวกและทางลบที่เกิดขึ้น และชวยกัน
สงเสริมนโยบายและการดําเนินงานดังกลาวไปในทิศทางที่เอื้อตอการพัฒนาที่ยั่งยืน
การบูรณาการสิ่งแวดลอมศึกษาฯ กับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
และนโยบายสาธารณะตางๆ จะชวยยกระดับความสําคัญของสิ่งแวดลอมศึกษาฯ และสงเสริมให
สิ่งแวดลอมศึกษาฯ มีบทบาทในการปองกันและแกไขปญหาอยางเปนรูปธรรม ซึ่งจะมีผลตอการขยาย
ความตองการและโอกาสของการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ อยางยั่งยืน
การบูรณาการดังกลาวควรดําเนินการตั้งแตระดับชาติถึงระดับทองถิ่น โดยควรเริ่มจาก
นโยบาย ยุทธศาสตรที่สิ่งแวดลอมศึกษาฯ สามารถเปนมาตรการและวิธีการดําเนินงานสําคัญในการ
ปองกันและแกไขปญหา โดยในชวงเริ่มตนทองถิ่นควรเปนลําดับความสําคัญแรกสุดที่จะดําเนินงาน
เนื่องเพราะสามารถเห็นผลเปนรูปธรรมไดเร็วและชัดเจน
¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹ 83