Page 67 - GL004
P. 67

ฝายตรวจสอบวิพากษวิจารณการดําเนินงานของบริษัท ในขณะที่องคกรธุรกิจสวนใหญยังขาดความรู
              ทั้งเชิงเนื้อหาและกระบวนการทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษา ซึ่งตองการการเสริมแรงจากภาคสวนอื่น
                     ประเทศไทยมีองคกรพัฒนาเอกชนที่มีประสบการณและองคความรูในงานสิ่งแวดลอมศึกษา
              เขมขนอยูจํานวนหนึ่ง ทั้งในเชิงเนื้อหาและกระบวนการ ขณะเดียวกันก็มีองคกรพัฒนาเอกชนและ

              องคกรชุมชนที่ทํางานดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจํานวนมาก องคกรเหลานี้ทํางาน
              ครอบคลุมประเด็นเนื้อหาดานตางๆ อยางกวางขวาง และสอดรับกับแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
              ในสวนของพื้นที่ก็มีองคกรที่ทํางานในระดับตางๆ ครอบคลุมทุกภูมิภาคของประเทศ โดยบางสวน
              ก็มีการทํางานแบบเครือขายในระดับทองถิ่น ระดับภูมิภาค และระดับชาติ รูปธรรมประการหนึ่งของ
              ความรวมมือนี้ ไดแก งานสิ่งแวดลอมประจําป องคกรเหลานี้มีงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาสอดแทรก
              ในการดําเนินงานมากบางนอยบาง ทั้งที่เกิดขึ้นอยางมีจุดมุงหมายหรือวาเปนไปเอง ในภาพรวม
              จึงนับวามีศักยภาพที่จะเปนผูดําเนินการหรือผูมีสวนสนับสนุนการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ไดดี

                     แมกระนั้นองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางานดานสิ่งแวดลอมศึกษายังนับวามีจํานวนไมมาก และ
              สวนใหญดําเนินการเปนรายโครงการโดยอาศัยงบประมาณจากแหลงทุนอื่น โดยองคกรพัฒนาเอกชน
              และองคกรชุมชนจํานวนมากที่ทํางานดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แมเนื้อหางานจะอยูใน
              แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนอยางชัดเจน แตบทบาทสวนใหญเปนการรณรงคและขับเคลื่อนนโยบาย
              ดวยเครื่องมืออื่นๆ ประเด็นสิ่งแวดลอมศึกษามักถูกนําไปผูกติดกับเปาหมายหลักในงานเฉพาะสวน
              ของตนเอง มากกวาที่จะขยายผลดวยการเดินหนาไปสูเปาหมายของการเปลี่ยนแปลงสูสังคมที่มี
              พลเมืองที่มีหัวใจสีเขียวในตนเอง
                     ดวยปริมาณและความหลากหลายขององคกรพัฒนาเอกชน โดยเฉพาะบรรดาองคกรเล็กๆ
              ที่ไมมีสถานะทางการ ทําใหเขาถึงยาก อีกทั้งองคกรสวนใหญจะมีความถนัดและศักยภาพเฉพาะ

              (ทํางานเฉพาะประเด็นหรือเฉพาะพื้นที่) ซึ่งตองการจะธํารงรักษาไวโดยไมยอมเปลี่ยนแปลง รวมทั้ง
              มักจะมีเกณฑหรือมาตรฐานเชิงอุดมการณสําหรับกําหนดความรวมมือกับภาคสวนอื่น โดยเฉพาะ
              ภาคธุรกิจเอกชน
                     ปจจุบันองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดรับโอนภารกิจและงบประมาณเกี่ยวกับการจัดการ
              ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ซึ่งในการดําเนินงานตองใชแนวทางการมีสวนรวมของ
              ประชาชน และ อปท. จํานวนไมนอยใชสิ่งแวดลอมศึกษาในการสนับสนุนการดําเนินงาน แมองคกร
              ปกครองสวนทองถิ่นจะเปนหนวยงานหลักดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่

              แตหลายแหงยังไมเห็นความสําคัญของสิ่งแวดลอมศึกษา และในบรรดาที่ตระหนักถึงความสําคัญเอง
              ก็ยังตองการการสนับสนุนทางวิชาการจากหนวยงานและองคกรอื่นๆ อีกมาก
                     กรณีเมื่อนํามาเปรียบเทียบกับชุมชนเมือง เปนที่นาสังเกตวา ขณะที่ในพื้นที่ชนบทของ
              ประเทศ กระบวนการชุมชนเขมแข็งสามารถกระตุนใหเกิดการสืบคนและสังเคราะหทุนและภูมิปญญา
              ทองถิ่น จนกระทั่งเกิดความตระหนักและความสนใจเรียนรูเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางการพัฒนา




              66 ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72