Page 65 - GL004
P. 65

โรงเรียนและครูจํานวนมิใชนอยที่มีประสบการณในการพัฒนา module และสื่อการเรียนรู
              จากการดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษารวมกับองคกรพัฒนาเอกชน และบริษัทตางๆ โดยบางกิจกรรม
              และบางโครงการยังไดดําเนินการอยางตอเนื่องตอมาดวย นอกเหนือไปจากครูอาจารยจํานวนหนึ่ง
              ซึ่งเคยรับการฝกอบรมเกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษามาแลว

                     สถาบันอุดมศึกษาบางแหงไดริเริ่มหลักสูตรสิ่งแวดลอมศึกษา ซึ่งจะชวยขยายจํานวน
              บุคลากรที่จะหนุนชวยการดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ในระยะยาวตอไป
                     แตเนื่องจากนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการคือจะสนับสนุนการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษา
              เชิงบูรณาการใหสอดแทรกอยูในสาระวิชาตางๆ จึงจะไมพัฒนาใหเปนหลักสูตรเฉพาะ ซึ่งนับวามีขอดี
              เพราะลักษณะสารัตถะของสิ่งแวดลอมศึกษาฯ สอดคลองกับแนวทางการเรียนรูแบบบูรณาการ แตก็มี
              ขอเสียในทางปฏิบัติ เนื่องจากครูผูสอนสวนใหญยังขาดทักษะในการบูรณาการและเชื่อมโยงความรู
              หลากหลายมิติ ดังนั้นแบบแผนการเรียนรูดังกลาวอาจไมทําใหเกิดสิ่งแวดลอมศึกษาฯ อยางครอบคลุม

              เปนระบบ แตจะไดรับความสําคัญและไดรับการพัฒนามากบางนอยบางตามแตความสนใจและทักษะ
              ความสามารถของผูสอนในโรงเรียนตางๆ และทําใหขาดแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจน
                     ในแงเนื้อหา งานสิ่งแวดลอมศึกษาในสถานศึกษาสวนใหญมีลักษณะแยกสวน ไมบูรณาการ
              และยังขาดความชัดเจนในเปาหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
                     นอกจากนี้ เนื่องจากที่ผานมางานสิ่งแวดลอมศึกษาในสถานศึกษา โดยเฉพาะระดับประถม
              และมัธยม เกิดจากการริเริ่มภายนอก เชน ดวยทุนจากตางประเทศ การดําเนินโครงการของหนวยงาน
              รัฐ องคกรพัฒนาเอกชน ฯลฯ โรงเรียนเปนเพียงผูปฏิบัติการตามแผนหรือแนวทางที่ถูกคิดคนและ
              กําหนดไวแลว จึงขาดบทบาทและประสบการณการดําเนินงานในภาพรวม โดยเฉพาะในแงของ
              การริเริ่ม การจัดสรางองคความรูใหม การวางแผน และการบริหารงาน

                     สวนชุดประสบการณตางๆ ยังขาดการประมวล สังเคราะห และวิเคราะห เพื่อที่จะนําไปสู
              การกําหนดนโยบายและแผนที่มีประสิทธิภาพ สามารถแกไขจุดออนที่ผานมา รวมทั้งการหลีกเลี่ยง
              ความผิดพลาดที่เคยเกิดขึ้นแลว
                     อนึ่ง  การขาดการผสานเชื่อมโยงระหวางสิ่งแวดลอมศึกษาฯ  ในสถานศึกษา  และ
              สิ่งแวดลอมศึกษาฯ  นอกสถานศึกษา  นับเปนขอจํากัดของความสําเร็จของการดําเนินการ
              สิ่งแวดลอมศึกษาฯ  ในสถานศึกษา  นักเรียนไมเห็นความสําคัญของสิ่งที่เรียนรูและปฏิบัติใน
              สถานศึกษาเมื่อพบวาชุมชนสังคมภายนอกมิไดมีแนวคิดและการปฏิบัติที่สอดคลองกัน

                     ขณะที่ สิ่งแวดลอมศึกษาฯ ที่อยูนอกเหนือสถานศึกษาของไทย ซึ่งมิไดมีกระทรวงศึกษาธิการ
              ทําหนาที่เปน “เจาภาพ” สิ่งแวดลอมศึกษาโดยปริยายเหมือนในสถานศึกษา ดังนั้นการขาดความรูสึก
              วาเปนเจาขาวเจาของอยางแทจริงของสิ่งแวดลอมศึกษานอกสถานศึกษาจึงเปนสิ่งบั่นทอน แมวา
              หนวยงานและองคกรตางๆ จะมีการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาอยูไมนอย แตเปนการดําเนินการ






              64 ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70