Page 64 - GL004
P. 64
ทวาความตื่นตัวในเรื่องสิ่งแวดลอมและกิจกรรมความเคลื่อนไหวดานทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม ที่แมจะเกิดขึ้นในสังคมไทยมากวา 3 ทศวรรษแลว แตความเขาใจในเรื่องสิ่งแวดลอม
ศึกษาฯ ยังจํากัดอยูในแวดวงเฉพาะอยางมาก สาธารณชนทั่วไปหรือแมแตองคกรดานสิ่งแวดลอมเอง
ก็ยังไมมีความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมศึกษาฯ เทาที่ควร และยังขาดความตระหนักถึงบทบาท
และความสําคัญของสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ในการทํางานดานสิ่งแวดลอม รวมทั้งขาดทักษะในการใช
สิ่งแวดลอมศึกษาฯ ดวย
องคความรูและผูเชี่ยวชาญดานสิ่งแวดลอมศึกษาฯ โดยตรงยังคงมีอยูไมมากนัก และแมวา
จะมีองคความรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมศึกษาที่สั่งสมในหนวยงาน องคกร และสถานศึกษาตางๆ
อยางมากมายและกวางขวางนั้น แตก็ขาดการสังเคราะห จัดระบบ และจัดทําใหอยูในรูปแบบ
ที่สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรูและนํามาใชเพื่อวัตถุประสงคเชิงสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ไดสะดวก
การพัฒนาองคความรูใหมๆ ซึ่งเปนเรื่องที่ตองระดมพลังจากภาคสวนตางๆ อยางกวางขวาง
และหลากหลาย ยังขาดการดําเนินการและการสนับสนุนอยางจริงจัง
สําหรับสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ในสถานศึกษานั้น พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542
และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ปฏิรูปการเรียนรูโดยมุงผูเรียนเปนสาระสําคัญ และเนนใน
เรื่องกระบวนการเรียนรูที่มุงปลูกฝงจิตสํานึก ความรู ความเขาใจ และประสบการณเรื่องการจัดการ
การบํารุงรักษา ตลอดจนการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อยางสมดุลยั่งยืน
ขณะที่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ระบุเอาไวชัดเจนเรื่องโครงสรางของหลักสูตรวา
สิ่งแวดลอมศึกษาเปนการเรียนรูที่ตองกําหนดสาระและมาตรฐานไวในสาระการเรียนรูกลุมตางๆ
โดยเฉพาะกลุมวิทยาศาสตร กลุมสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสุขศึกษาและพลศึกษา
¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹ 63