Page 61 - GL004
P. 61

บทที่ 2


              รากฐานและแนวทางการพัฒนาของสิ่งแวดลอมศึกษา


                          เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย




                     เปนเวลากวา 15 ป ที่สิ่งแวดลอมศึกษาไดดําเนินงานตอเนื่องมาในประเทศไทย สังคมยอมจะ
              สั่งสมประสบการณและตนทุนดานตางๆ เอาไวในเนื้อในตัวมิใชนอย แตสิ่งที่ตกเปนผลึกอยูก็มิได
              หมายถึงเฉพาะดานที่เปนบวกเทานั้น หากยังรวมเอาไวดวยสิ่งที่ขาดตกบกพรองและสวนที่เปนปญหา
              หรืออุปสรรคดวยเสมอไป
                     การพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาในระยะตอไปจากนี้จึงมิไดตั้งตนจากฐานที่วางเปลา แผนหลัก
              สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พ.ศ. 2551 – 2555 จะมีประสิทธิผลอยางแทจริงได จําเปน
              ตองคํานึงถึงบริบทรากเหงาที่เกี่ยวของในอดีตและปจจุบัน ทั้งสวนที่เปนจุดแข็ง จุดออน ปจจัยที่จะเอื้อ

              สูความสําเร็จหรือประตูแหงโอกาส รวมทั้งเงื่อนไขที่เปนขอจํากัดหรือกําแพงที่ขวางกั้น ไปพรอมกัน

               ปจจัยเกื้อหนุนและอุปสรรคบั่นทอนของสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ในประเทศไทย


                     ปจจุบัน แมประเทศไทยจะยังไมมีนโยบายและยุทธศาสตรดานสิ่งแวดลอมศึกษาที่ชัดเจน
              แตโครงสรางเชิงสถาบันบางอยาง เชน กฎหมาย นโยบาย และยุทธศาสตรสําคัญของประเทศ
              ที่สนับสนุนและเอื้ออํานวยตอการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ก็ปรากฏใหเห็นเปนเคาลางในเรื่องนี้อยู





























              60 ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66