Page 25 - GL004
P. 25

ความตระหนักแนแกใจ ถึงปญหาและผลกระทบตอสิ่งแวดลอม กับทั้งรูสึกผูกพัน หวงใย

                มีจิตสํานึก และเล็งเห็นคุณคาความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม วามี
                ศักยภาพและเปนโอกาสในการพัฒนาคนและสังคม
                     คานิยมอุดมการณ ที่เกื้อกูลตอสิ่งแวดลอม มุงมั่นอุทิศตัวที่จะปกปองรักษาคุณภาพสิ่ง

                แวดลอม แกไขปญหาที่กําลังเกิดอยู และปองกันปญหาใหมที่อาจเกิดขึ้นไดในอนาคตคานิยม
                อุดมการณอาจเติบโตงอกงามไปจนถึงระดับ “จริยธรรมดานสิ่งแวดลอม”
                     ความชาญฉลาดในระดับปฏิบัติการ ที่จะสังเกตเห็น บงชี้ปญหา เก็บขอมูล ตรวจสอบ

                วางแผน การคิดวิเคราะห เพื่อการแกปญหา รวมถึงความสามารถในการตัดสินใจ ซึ่งเปนทักษะ
                สําคัญในการแกไขและปองกันปญหา
                     เครือขายความรวมมือ ของบุคคลและสังคม โดยการสังเคราะหและสรางสรรคพฤติกรรม

                อยางใหม หรือบุคคลและประชาชนผลักดันใหเกิดนโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการใหมๆ ที่เปน
                นวัตกรรมการนําความรูและทักษะมาใชในรูปของการมีสวนรวม เกิดเครือขายการแลกเปลี่ยน

                เรียนรูและการแบงปนประสบการณ
                     ฉะนั้น ความสําเร็จของสิ่งแวดลอมศึกษาฯ จะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อบุคคล และ/หรือ สังคม
                ไดมีการยกระดับจากความ “ไมรู” เปนความ “รู” เปนความ “รูสึก” เปนความ “คิดจะทํา” และ

                เปนการ “ลงมือกระทํา” อยางไรก็ตาม การ “ลงมือกระทํา” นั้นควรมีแหลงกําเนิดมาจาก
                “อุปนิสัย หรือ พฤติกรรม” ซึ่งมีความยั่งยืน มิใช “กิจกรรม” ชั่วขณะระยะสั้นเทานั้น

                     สังคมใดที่บุคคลและประชาชนมีความกาวหนาในมิติตางๆ ดังเปาประสงคที่ระบุไว
                ขางตนนี้ ยอมหวังไดวาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ หรือ EESD จะมีบทบาทในการนําพาไปสูสังคม
                ที่มีการพัฒนาที่ยั่งยืนอันแทจริง





















              24
              24 ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30