Page 79 - 049
P. 79
65
ั
ื่
ี่
2. ปญหาจากสอทใช้ส่งข่าวสาร เช่น
ึ
ื
2.1 การบดเบอนข้อมูลโดยไม่ได้ตั้งใจของผู้ส่งข่าวสาร ซงอาจเกิดจากถ้อยค าหรอ
ื
่
ิ
ิ
ื
ี่
ท่าทางทใช้หรอการท าจนเคยชน
ึ
2.2 สอประกอบด้วยข้อมูลเกินความจ าเปน เช่น ในรายงานเรองหนงซงอาจยาว
่
ึ
็
ื่
่
ื่
เพียง 2 หน้าก็พอ แต่ปรากฎว่ามถง 8 หน้า เปนต้น
็
ึ
ี
ิ
2.3 ส่งรบกวนระหว่างผู้ส่งและผู้รบข่าวสาร ท าให้ข้อเท็จจรงบดเบอนไป เช่น
ิ
ิ
ื
ั
ื
็
ั
ื
ึ
ึ
ี
เสยงดัง การเหนไม่ชัด หรอการให้ข้อมูลต้องผ่านหลายคนหรอหลายโต๊ะ จงจะถงผู้รบข่าวสาร
3. ปญหาจากผู้รบข่าวสาร เช่น
ั
ั
3.1 ความสามารถของผู้รบข่าวสารทจะแปลความหมายของข้อมูลจากสอเปน
ั
ื่
็
ี่
ั
ิ
ี่
็
ื่
ความคด เปนต้นว่าผู้รบข่าวสารไม่เข้าใจภาษาทใช้ในการสอสารย่อมจะท าให้เกิดความขัดแย้งได้
ั
3.2 ความเข้าใจไม่ตรงกันระหว่างผู้รบข่าวสารกับผู้ส่งข่าวสาร
ิ
ิ
ี
ึ
สรางค์ โล่หสัมฤทธ์ชัย (2536) ได้ศกษาสาเหตของความขัดแย้งของผู้บรหารโรงเรยน
์
ุ
ุ
ุ
ึ
ื
มัธยมศกษา สังกัดกรงเทพมหานคร พบว่า สาเหตของความขัดแย้งทพบมากคอ สาเหตจาก
ุ
ุ
ี่
ุ
ิ
องค์ประกอบส่วนบคคล อันดับรองลงมาคอ สาเหตจากปฏสัมพันธในการท างาน และความไม่
์
ุ
ื
ุ
ุ
ุ
่
ึ
ื
้
ิ
ชัดเจนของโครงสรางทางการบรหาร ตลอดจนการแข่งขันของบคคลหรอกล่ม ซงสาเหตดังกล่าว
ึ
ี
พบมากในโรงเรยนมัธยมศกษาขนาดเล็ก
ุ
ุ
ุ
็
โดยสรปแล้วสาเหตของความขัดแย้งไม่ว่าจะเปนความขัดแย้งภายในบคคล
ความขัดแย้งระหว่างบคคล ความขัดแย้งภายในองค์กร หรอความขัดแย้งระหว่างกล่ม มสาเหต
ุ
ุ
ุ
ื
ี
ื
มาจากความรสกของบคคล โครงสรางขององค์กรทมทรพยากรอย่างจ ากัดและความคลมเครอ
ุ
ู
ึ
้
ี
้
ั
ุ
ี่
ุ
ี่
กฎเกณฑ์ทเข้มงวด และการแข่งขันของตัวบคคลและองค์กร
้
้
ล าดับขันตอนของความขัดแยง
เมอความขัดแย้งเกิดข้นแล้ว หากรขั้นตอนการเกิดข้นของความขัดแย้ง ก็สามารถ
ู
ึ
ึ
ื่
้
ึ
ึ
่
จัดการกับความขัดแย้งนั้นได้ ซง เอกชัย บญยาธษฐาน (2555) กล่าวว่า หากความขัดแย้งเกิดข้นแล้ว
ิ
ุ
ั
ไม่ได้รบการแก้ไข จะเกิดล าดับขั้นตอนของความขัดแย้ง 9 ระยะ ดังน้ ี