Page 139 - 049
P. 139
125
ิ
ี
ิ
ิ
นอกจากน้ กัญญา ก าศรพิมาน (2553)ได้เสนอแนวทางการจัดกิจกรรมตามแนวคด
ึ
ั
จตตปญญาศกษา 5 ขั้น ดังน้ ี
ิ
ู
ิ
ี
1. ขั้นเตรยมความพรอม (Check-in) เปนการถ่ายทอดความร โดยการให้สตอยู่กับตัว
้
้
็
ึ
อาจจะให้ท ากิจกรรมฝกสมาธ ิ
ื่
ี
็
2. ขั้นสนทรยสนทนา (Dialogue) เปนการพูดและฟงคนอนพูดอย่างใคร่ครวญ
ั
ุ
ู
้
ื่
ไตร่ตรอง ฟงอย่างรเท่าทัน ให้แขวนลอยค าถามให้ผู้พูดได้พูดอย่างเชอมโยง หยุดพูดโดยใช้ปาย
ั
้
แสดงสถานะการพูด
์
็
3. ขั้นฟงแล้ววิเคราะห และสะท้อนความคด (Reflection) ตามหัวข้อ และประเดน
ั
ิ
ต่างๆ
4. ขั้นการทบทวน (Check-out) โดยการฝกทบทวนด้วยตนเอง ว่าวันน้ด้เรยนรอะไร
ี
้
ู
ี
ึ
ี่
ั
้
ุ
ั
และให้สรปพรอมภาระงานทได้รบมอบหมายในคร้งต่อไป
็
็
็
5. ขั้นจดบันทก (Journaling) เปนการแสดงให้เหนความก้าวหน้าเปนระยะๆ และ
ึ
็
ทบทวนเปนระยะ ๆ
ี
ี
นอกจากน้ สลักจต ตรรณโอภาส (2553) ได้แบ่งขั้นตอนการจัดกิจกรรมตามแนวคด
ิ
ิ
ิ
จตตปญญาศกษา เปนขั้นตอนใหญ่ 3 ขั้นตอน ดังน้ ี
ั
็
ึ
ิ
ิ
ึ
ิ
ี
ิ
1. ขั้นสมาธ หมายถง การหลับตาตั้งสต ท าจตให้สงบน่ง ใช้เวลา 5- 10 นาทในช่วง
ี
ี่
ื่
ี่
ี
ิ
เวลาดังกล่าวจะมการกล่าวถงส่งทผ่านมาแล้วเชอมโยงกับบทเรยนใหม่และกิจกรรมทจะท าต่อไป
ึ
ื
หลังจากนั้นแจ้งเน้อหาทจะต้องท าอย่างไรใช้เวลาประมาณเท่าใด
ี่
ิ
ึ
ึ
2. ขั้นคดและใคร่ครวญ หมายถง การนกไตร่ตรองอย่างเงยบๆ เพื่อท าความเข้าใจ
ี
ุ
ี
์
ึ
วิเคราะหเหตและผล จนสามารถเข้าถงความจรง ความด ความงาม ของเน้อหาได้ ซงจะต้อง
ิ
ึ
ื
่
ี่
ออกแบบกิจกรรมให้มการคดและใคร่ครวญทกคร้ง อาจจะเดยวหรอกล่มก็ได้ แต่เน้นกระบวนการ
ุ
ี
ิ
ื
ั
ุ
้
ุ
ึ
ั
ู
ั
ี
กล่ม เพื่อการแลกเปลยนเรยนรผนวกกิจกรรมสนทรยสนทนา เพื่อฝกการรบฟงอย่างปราศจากอคต ิ
ี่
ี
ุ
ี
็
ิ
ึ
ิ
และฝกการใช้กระบวนการคดเชงระบบโดยยึดหลักความจรง ความด ความงามเปนแก่นของ
ิ
์
ื่
ความคด และสามารถเชอมโยงกับประสบการณได้
ิ
ื
ิ
็
ึ
ี่
3. ขั้นสะท้อนความคด หมายถง การน าเสนอความคด ตามสาระหรอประเดนทผ่านมา
ิ
โดยการคดอย่างใคร่ครวญ เช่น ค าพูดสั้นๆ วาทะธรรม การเขยนข้อความสั้นๆ การเขยนเรยงความ
ี
ิ
ี
ี
การเขยนแผนผัง แผนภูม การวาดภาพ การแสดงบทบาทสมมต การแสดงละคร การปฏบัตจรงและ
ิ
ุ
ิ
ิ
ิ
ี
ิ
ิ
ิ
ื
การท ากิจกรรมเพื่อประโยชน์ส่วนรวมด้วยจตสาธารณะหรอจตอาสา