Page 110 - 049
P. 110

96


                                 ทฤษฎีเกี่ยวกับความขัดแยง
                                                       ้
                                                                                            ื
                                                                                                    ี่
                                                              ี
                                                                             ิ
                                                                            ุ
                                                                                  ี่
                                                    ็
                                                            ี่
                                                           ี
                                 ทฤษฎความขัดแย้ง เปนทฤษฎทมรากฐานของสมมตฐานทว่า สังคม คอ ระบบทม       ี
                                       ี
                                                    ี
                       ลักษณะซับซ้อนของความไม่เท่าเทยมกัน (Inequality) และความขัดแย้ง (Conflict) ซงจะน าไปส่ ู
                                                                                             ึ
                                                                                             ่
                       การเปลยนแปลงทางสังคม (Macionis, 1993)
                             ี่
                                                            ็
                                                                   ี
                                                                     ี่
                                                                                            ้
                                       ี
                                                                                                    ี่
                                 ทฤษฎความขัดแย้งทางสังคม เปนทฤษฎทสนับสนนให้ทฤษฎโครงสราง-หน้าท มี
                                                                            ุ
                                                                                     ี
                                  ์
                                   ึ
                                                   ี
                                           ื
                                                                                 ิ
                       ความสมบูรณข้น กล่าวคอ ทฤษฎความขัดแย้งทางสังคมมแนวความคดว่า สังคมนั้นไม่ได้มความ
                                                                                                   ี
                                                                       ี
                                     ี
                        ็
                       เปนอันหนงอันเดยวกัน แต่สังคมนั้นตั้งอยู่บนพื้นฐานของการแบ่งแยก (Division) อันเกิดจากความ
                                ่
                                ึ
                       ไม่เท่าเทยมกันทางสังคม นักสังคมวิทยากล่มความขัดแย้งทางสังคมจะพยายามค้นหาว่า ปจจัยต่างๆ
                              ี
                                                                                                 ั
                                                           ุ
                                                ุ
                                                                 ี
                                        ื
                                                                                           ี
                                             ิ
                       เช่น ชั้นทางสังคม เช้อชาต กล่มชน เพศ และอายุ มความเกี่ยวพันกับความไม่เท่าเทยมของการ
                                                                         ึ
                                          ุ
                       กระจายทรพยากรทมคณค่าในสังคม ได้แก่ เงน อ านาจ การศกษา และเกียรตยศทางสังคมอย่างไร
                                       ี่
                                                            ิ
                                        ี
                                ั
                                                                                      ิ
                               ี
                       นอกจากน้นักวิชาการในกล่มความขัดแย้งทางสังคมจะมองว่า ในสังคมเกิดการแข่งขันกันเพราะใน
                                              ุ
                                               ื่
                       สังคมมความขัดแย้งกันอันเนองมาจากคนกล่มต่างๆ ในสังคมได้รบผลประโยชน์และผลตอบแทน
                                                            ุ
                             ี
                                                                             ั
                                                                ี่
                        ี่
                       ทไม่เท่าเทยมกัน ส่งตอบแทนและผลประโยชน์ทคนในสังคมได้รบมความแตกต่างกันออกไปตาม
                                                                             ั
                                      ิ
                               ี
                                                                                ี
                       ต าแหน่ง และหน้าททางสังคม นักสังคมวิทยาในกล่มน้ยังมองว่า สังคมมความขัดแย้งกันอย่าง
                                                                                   ี
                                       ี่
                                                                  ุ
                                                                    ี
                                  ็
                               ่
                                                     ี
                       ต่อเนอง ซงเปนสาเหตท าให้สังคมมการเคลอนไหวและเปลยนแปลงตามมา
                           ื่
                                                           ื่
                                         ุ
                                                                        ี่
                               ึ
                                       ี
                                                     ั
                                                        ุ
                                                                               ิ
                                 ทฤษฎความขัดแย้งในปจจบันมักเกิดมาจากแนวความคดของ Karl Marx (Marx, 1977)
                                                                                              ิ
                                                                  ี
                        ี
                                                     ุ
                       มความเชอว่า การเปลยนแปลงของทกๆ สังคม จะมขั้นตอนของการพัฒนาทางประวัตศาสตร 5 ขั้น
                              ื่
                                         ี่
                                                                                                    ์
                       โดยแต่ละขั้นจะมวิธการผลต (Mode of Production) ทเกิดจากความสัมพันธของ อ านาจของ
                                             ิ
                                                                    ี่
                                     ี
                                                                                      ์
                                        ี
                                                   ึ
                            ิ
                       การผลต (Forces of Production) ซงได้แก่ การจัดการด้านแรงงาน ทดน ทน และเทคโนโลยีกับ
                                                                                    ุ
                                                                                ิ
                                                   ่
                                                                               ี่
                                                    ิ
                                                                                  ึ
                                                                                  ่
                                  ์
                       ความสัมพันธทางสังคมของการผลต (Social Relation of Production) ซงได้แก่ เจ้าของปจจัย
                                                                                                ั
                                         ี่
                                                                                    ี
                                                                     ิ
                                                 ี่
                                                    ิ
                       การผลต และคนงานทท าหน้าทผลต แต่ในระบบการผลตแต่ละระบบจะมความขัดแย้งระหว่าง
                            ิ
                                                                                        ี่
                                                  ิ
                       ชนชั้นผู้เปนเจ้าของปจจัยการผลตกับผู้ใช้แรงงานในการผลต ท าให้เกิดการเปลยนแปลงทาง
                                                                        ิ
                                        ั
                               ็
                                ี่
                                  ็
                                                                                ื่
                                           ้
                                                                                        ้
                       เศรษฐกิจ ทเปนโครงสรางส่วนล่างของสังคม (Substructure)  และเมอโครงสรางส่วนล่างม  ี
                                        ี
                             ี่
                       การเปลยนแปลงจะมผลท าให้เกิดการผันแปรและเปลยนแปลงต่อโครงสรางส่วนบนของสังคม
                                                                                    ้
                                                                   ี่
                                                                                  ึ
                       (Superstructure) ซงเปนสถาบันทางสังคม เช่น รฐบาล ครอบครว การศกษา ศาสนา และรวมถง
                                                               ั
                                         ็
                                      ึ
                                                                                                     ึ
                                                                            ั
                                      ่
                                                                                                     ์
                                                                                              ์
                          ิ
                                                                                         ิ
                                    ิ
                       ค่านยม ทัศนคต และบรรทัดฐานของสังคม ล าดับขั้นของการพัฒนาทางประวัตศาสตรของมารกซ   ์
                       มดังน้  ี
                        ี
                                                                                                  ั
                                                     ิ
                                                       ิ
                                 1. ขั้นสังคมแบบคอมมวนสต์ดั้งเดม (Primitive Communism) กรรมสทธ์ในปจจัย
                                                                                              ิ
                                                                                           ิ
                                                              ิ
                                                                                             ั
                       การผลตเปนของเผ่า (Tribal Ownership) ต่อมาเผ่าต่าง ๆ ได้รวมตัวกันเปนเมองและรฐ ท าให้
                               ็
                            ิ
                                                                                   ็
                                                                                      ื
                                            ิ
                               ิ
                                   ั
                             ิ
                       กรรมสทธ์ในปจจัยการผลตเปลยนไปเปนของรฐแทน
                                                              ั
                                                 ี่
                                                        ็
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115