Page 46 - 032
P. 46
26
ั
ี
็
4. ระดับอาชวศึกษา อาชวศึกษาเปนการศึกษาเพื่อเตรยมคนส าหรบการ
ี
ี
ี
ุ
ี
ี
ประกอบอาชพในอนาคต ทั้งในด้านของงานช่างฝมอ งานธรกิจ งานวิศวกรรม และงานบัญช โดย
ื
ี
่
ึ
ิ
็
ึ
เปนการศึกษาเพื่อให้ผู้เรยนสามารถปฏิบัติงานได้จรงๆ ซงแตกต่างจากการศกษาในระดับชั้น
ึ
้
ี
ู
มัธยมศึกษาตอนปลายที่เน้นให้มความร พื้นฐานมากเพียงพอส าหรับศกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย
ึ
ี
ี
การศึกษาในระดับอาชวศึกษาจะเน้นให้มการฝกงาน เพื่อเสรมสรางให้ผู้เรยนมประสบการณมาก
ี
้
ิ
ี
์
ั
ิ
ยิ่งขึ้น ส าหรบประเทศไทยเร่มมการจัดการเรยนการสอนในสายอาชพตั้งแต่ป พ.ศ. 2452 โดยใน
ี
ี
ี
ี
ี
ุ
ิ
สมัยนั้นเน้นจัดการเรยนการสอนทางด้าน แพทย์ ผดงครรภ์ ภาษาอังกฤษ พาณชยการ และคร ู
(ส านักงานคณะกรรมการการอาชวะศึกษา, 2558 ออนไลน์)
ี
ุ
5. ระดับอดมศึกษา การศึกษาในระดับอดมศึกษา (Tertiary, Third stage,
ุ
็
Postsecondary Education) เปนการศึกษาที่ไม่ได้บังคับว่าต้องจบการศกษาในระดับน้ การศึกษาใน
ึ
ี
ู
ี่
ึ
ระดับน้เปนการศกษาทสงขึ้นมาจากการศกษาในระดับมัธยมศกษา การศึกษาในระดับอดมศึกษา
ึ
ี
ุ
ึ
็
ิ
็
ั
นั้นแบ่งได้ออกเปน 2 ระดับคือระดับปรญญาบัณฑิตและระดับบัณฑิตศึกษา ส าหรบการจัด
ิ
็
ุ
การศึกษาในระดับอดมศึกษาเปนหน้าที่ของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยเปนผู้ด าเนนการ หากผู้เข้า
็
็
ึ
ึ
์
ั
ึ
ุ
ศกษาในระดับอดมศกษาเรยนจบแล้วจะได้รบปรญญาบัตรเปนสัญลักษณบ่งบอกถงการผ่าน
ี
ิ
็
ุ
ี่
ึ
ื
ึ
ู
หลักสตรนั้นๆการทจะเข้าศกษาต่อในระดับอดมศกษาได้นั้นจ าเปนต้องผ่านการสอบคัดเลอกเข้า
ิ
ิ
์
ิ
์
ึ
ศึกษาต่อก่อน ส่งผลให้วิธการน้ท าให้มทั้งผู้ทได้สทธศกษาต่อและผู้ทไม่ได้ สทธศกษาต่อ ส าหรบ
ึ
ี
ี
ี
ี่
ิ
ั
ี่
การศึกษาในระดับอดมศึกษามความส าคัญมากในการสมัครงาน เพราะมักมการก าหนดวุฒ ิ
ี
ุ
ี
ี
ี
ิ
่
ี
การศึกษาขั้นต าในระดับปรญญาตร นอกจากน้ยังมความส าคัญในการพัฒนาก าลังคนในการพัฒนา
ประเทศชาติอกด้วย (ส านักงานคณะกรรมการการอดมศึกษา, 2549)
ุ
ี
ดังนั้นการจัดการศึกษาในระบบจึงประกอบไปด้วย การจัดการศึกษาภาคบังคับ 15
ึ
ึ
ั
ี
ู
ึ
ป ที่เด็กทุกคนต้องเรยนและได้รบการจัดสรรดแลอย่างทั่วถง ซงประกอบด้วยการจัดการศกษาใน
ี
่
็
ุ
ี
ี่
ู
ี
ื
ี
ระดับปฐมวัยหรออนบาลโดยเปนการวางรากฐานชวิตเพื่อปพื้นฐานทดก่อนการเรยนในระดับ
ู
ี
ี
ประถมศกษาคือตั้งแต่ในระดับประถมศกษาปที่ 1 ถงประถมศึกษาปที่ 6 เพื่อขึ้นไปส่การเรยนใน
ึ
ึ
ี
ึ
ึ
ุ
่
ระดับมัธยมศึกษาเพื่อเตรยมความพรอมไปส่การเรยนในระดับสงขึ้นต่อไปคือระดับอดมศกษาซง
ึ
ี
ู
้
ู
ี
็
แบ่งออกเปน 2 ระดับคือระดับปรญญาบัณฑิตและระดับบัณฑิตศึกษา โดยในแต่ละระดับจะมการ
ี
ิ
วัดประเมนผลของผู้เรยนตามกรอบหลักสตรที่รัฐบาลได้ก าหนดไว้
ู
ิ
ี