Page 42 - 032
P. 42
22
ุ
ิ
ี
ิ
ั
พ.ศ.2538 กระทรวงศึกษาธการให้มการปรบปรงค าอธบายอสลามศึกษา ใน
ิ
ุ
ู
หลักสตรระดับประถมศึกษา พ.ศ. 2521 (ฉบับปรบปรง พ.ศ.2533) ขึ้นใหม่ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น และ
ั
ให้สอดคล้องกับการปรับรายวิชาอสลามศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษา โดยยกเลกค าอธบายอสลาม
ิ
ิ
ิ
ิ
ิ
ิ
ึ
ึ
ศกษา ตามค าสั่งของกระทรวงศกษาธการ ท วก988/2534 ให้ใช้ค าอธบายอสลามศึกษาที่ได้มการ
ี่
ี
ิ
ุ
ปรับปรงใหม่ตามค าสั่งของกระทรวงศกษาธการท วก 1172/2538 ลงวันที่ 18 ธันวาคม 2538 แทน
ี่
ิ
ึ
ึ
ฝายโครงการพิเศษส านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติประจ าเขต เขตการศกษา 2 จง
ึ
่
ู
ได้มการจัดพิมพ์หลักสตรอสลามศึกษา (ฉบับปรบปรง พ.ศ.2537) ในหลักสตรประถมศึกษา พ.ศ.
ั
ิ
ุ
ี
ู
ี่
ิ
ุ
ี
ึ
ิ
ั
2521 (ฉบับปรบปรง พ.ศ.2533) ขึ้นใหม่ โดยให้โรงเรยนระดับประถมศกษาทเปดสอนอสลาม
ึ
ี
็
ั
ศึกษา ได้ใช้ตั้งแต่ปการศึกษา 2538 ตลอดเปนต้นมาจนกระทั่งถงปจจุบัน
ู
ี
้
ั
ี่
ิ
ี
็
ู
ปพ.ศ.2544 ได้มการปรบเปลยนหลักสตรมาเปน การจัดสาระการเรยนรอสลาม
ี
ู
ี
ู
ุ
ศึกษา กล่มสาระการเรยนร้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ี
ปพ.ศ.2551 กระทรวงศึกษาธการได้ประกาศให้ใช้หลักสตรแกนกลางการศึกษา
ิ
ู
ิ
ึ
ขั้นพื้นฐาน (อสลามศึกษา) พ.ศ.2551 ก าหนดให้วิชาอสลามศกษาอยู่ในกล่มสาระการเรยนรสังคม
้
ิ
ี
ุ
ู
ี
ี่
ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยจัดอยู่ในสาระท 1 ศาสนา ศีลธรรมและจรยธรรม มสาระและ
ิ
ี
ู
ี
ี
ี
ู
ิ
มาตรฐานการเรยนร้และตัวช้วัดชั้นปมาตรฐานการเรยนร้ช่วงชั้น (กระทรวงศึกษาธการ, 2551)
ดังนั้นจงสรปได้ว่า การจัดการศกษาอสลามในจังหวัดสตลทมการรเร่มอย่างเปน
ึ
ิ
ิ
็
ี่
ู
ี
ิ
ึ
ุ
ี
ุ
ั
ี
ี
ทางการคือ 80 ป นับตั้งแต่ปพ.ศ. 2475 – 2558 ปจจบัน ในช่วงแรกมการสอนทั้งภาษาไทยและ
ู
ื่
ิ
ุ
มลายูควบค่กัน และสอนหลักบัญญัติหลักการรก่นอสลาม 5 ประการ เนองด้วยประชาชนส่วนใหญ่
ื
ี
นับถอศาสนาอสลามจงมการเสนอให้หยุดการเรยนการสอนในวันศกร เหตการณเปลยนผ่านทาง
์
ี่
ิ
ุ
์
ี
ุ
ึ
ื่
ั
ื
การเมองมผลต่อการก าหนดนโยบายทางการศึกษามาอย่างต่อเนอง ปจจุบันรัฐบาลได้บรรจุวิชาหลัก
ี
ี่
ี
ิ
ุ
ทเกี่ยวข้องกับศาสนาอสลามเข้ามาอยู่ในกล่มสาระการเรยนรสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
้
ู
ิ
ี
ื
หรอเรยกโดยทั่วไปว่าวิชาอสลามศึกษา
2.2 ประเภทของการจัดการศกษาทั่วไป
ึ
ิ
ึ
ิ
ึ
พระราชบัญญัตการศกษาแห่งชาต พ.ศ. 2542 ได้กล่าวถง ประเภทของการจัด
ี
การศกษาไว้ว่า ม 3 ประเภท ได้แก่ การศกษาในระบบ การศกษานอกระบบ และการศกษาตาม
ึ
ึ
ึ
ึ
อัธยาศัย ไว้ดังต่อไปน้ ี