Page 65 - 025
P. 65
65
ี
ระติกรณ์ นิยมะจันทร์ (2548) ศึกษาเรื่อง กลยุทธ์การบรหารเพื่อความเป็นเลิศของโรงเรยน
ิ
เอกชนจังหวัดปทุมธานี การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์การบรหารงานเพื่อความเป็น
ิ
ั้
ิ
เลิศของผู้บรหารโรงเรยนเอกชน จังหวัดปทุมธานี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครงนี้เป็นผู้ปฏิบัติงาน
ี
ี
จรงในต าแหน่งผู้บรหารโรงเรยนเอกชน ประเภทสามัญศึกษา ในจังหวัดปทุมธานี จ านวน 78
ิ
ิ
ู
่
ื่
โรงเรียน ได้แก่ ผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ และครใหญ จ านวน 153 คน เครองมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น
ั
แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสรางขึ้น โดยได้รบแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์คืน จ านวน 132 ฉบับ คิดเป็น
้
ร้อยละ 86.27 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ิ
ผลการวิจัย กลยุทธ์การบรหารงานเพื่อความเป็นเลิศของผู้บรหารโรงเรยนเอกชนจังหวัด
ี
ิ
ปทุมธานี ทั้ง 7 ด้าน เรียงล าดับจากอันดับสูงสุดไปต่ าสุด มีดังนี้ 1) ด้านประสิทธิภาพของผู้น า มีการ
ิ
ตั้งเป้าหมายในความส าเรจไว้อย่างชัดเจนเป็นรปธรรม 2) ด้านการบรหารจัดการด้านหลักสูตร มี
็
ู
การก าหนดหลักสูตรที่เหมาะสมกับระดับชั้นเรยน 3) ด้านการประเมินและการติดตาม
ี
ี
ู
ี
ี
ความก้าวหน้าของนักเรยน มีการประเมินผลการเรยนของนักเรยนในรปแบบที่หลากหลาย 4) ด้าน
ความคาดหวังและการปฏิบัติงานของคร มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคร เป็นประจ าทุกภาค
ู
ู
ี
ู
ี
เรยน 5) ด้านการให้เวลาในการท างาน มีการให้เวลาแก่ครในการเตรยมการสอนอย่างเพียงพอ 6)
ิ
ด้านการให้ความส าคัญในการบรหารงานวิชาการ มีการก าหนดให้ครจัดท าแผนการสอนอย่าง
ู
ั
ุ
ต่อเนื่อง 7) ด้านบรรยากาศภายในโรงเรยนมีการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาปรบปรง
ี
สภาพแวดล้อมในโรงเรียน
พัชรกฤษฎิ์ พวงนิล (2553) ศึกษาเรื่อง กลยุทธ์การระดมทรพยากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนา
ั
ั้
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐในจังหวัดมหาสารคาม การวิจัยครงนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ
ั
ปัจจุบัน ปัญหาและพัฒนากลยุทธ์ การระดมทรพยากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษาขั้น
พื้นฐานของรฐในจังหวัดมหาสารคาม ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิจัย 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษา
ั
ี
ิ
บรบทเพื่อจัดท ารางกลยุทธ์ ประกอบด้วยการศึกษาเอกสาร การศึกษาพหุภาคี จ านวน 3 โรงเรยน
่
การสนทนากลุ่ม และการศึกษาเชิงส ารวจ และระยะที่ 2 การพัฒนาและตรวจสอบกลยุทธ์ โดย
พิจารณาจากเกณฑ์ความเป็นไปได้ และได้รับการยอมรับ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ และ
การประชาพิจารณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้
สภาพปัจจุบัน ปัญหาในการระดมทรพยากรทางการศึกษา พบว่า 1) ด้านเงินทุนหรอ
ั
ื
ี
งบประมาณ โรงเรยนมีการปฏิบัติและปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง 2) ด้านบุคลากร โรงเรยนมีการ
ี
ี
ุ
ปฏิบัติและปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง 3) ด้านวัสดุ อปกรณ์ และเทคโนโลยี โรงเรยนมีการปฏิบัติ
และปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง 4) ด้านที่ดินและสิ่งก่อสร้าง โรงเรียนมีการปฏิบัติและปัญหาอยู่ใน