Page 66 - 025
P. 66
66
ู้
ี
ี
ระดับปานกลาง 5) ด้านแหล่งเรยนร โรงเรยนมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากแต่มีปัญหาอยู่ในระดับ
น้อย
ประเด็นกลยุทธ์ในการระดมทรพยากรทางการศึกษา จ าแนกเป็น 4 ด้าน คือ 1) ด้านเงินทุน
ั
หรองบประมาณ ประกอบด้วย 8 กลยุทธ์ 21 มาตรฐาน และ 43 ตัวชี้วัด 2) ด้านบุคลากร
ื
ุ
ประกอบด้วย 8 กลยุทธ์ 23 มาตรฐาน และ 48 ตัวชี้วัด 3) ด้านวัสดุอปกรณ์และเทคโนโลยี
้
ประกอบด้วย 8 กลยุทธ์ 24 มาตรฐาน และ 57 ตัวชี้วัด 4) ด้านที่ดินและสิ่งก่อสราง ประกอบด้วย 8
กลยุทธ์ 23 มาตรฐาน และ 49 ตัวชี้วัด 5)ด้านแหล่งเรียนรู้ ประกอบด้วย 8 กลยุทธ์ 23 มาตรฐาน และ
45 ตัวชี้วัด
ส่วนกลไกการน ากลยุทธ์สู่การปฏิบัติ กลไกการควบคุมกลยุทธ์ และกลไกการประเมิน
้
กลยุทธ์นั้น ประกอบด้วย 3 กลไกหลัก ได้แก่ 1) กลไกด้านองค์กร คือ การก าหนดโครงสรางองค์กร
การประสานงาน การมอบหมายภารกิจ ระบบการก ากับ ติดตาม ตรวจสอบมีความโปร่งใส 2) กลไก
ด้านบุคลากร คือ เป็นผู้มีความรความเข้าใจในการปฏิบัติงาน มีทักษะและความสามารถในการ
ู้
แก้ปัญหาเฉพาะหน้าและการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ มีความเสียสละ อดทน มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง มี
ิ
ความมุ่งมั่นเพื่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กร และ 3) กลไกด้านการบรหารจัดการ คือ การยึด
ั
หลักการมีส่วนร่วม จัดสรรทรพยากรอย่างทั่วถึงตามความจ าเป็น การให้อานาจและกระจายอานาจ
ื
ในการบริหารจัดการ การควบคุมการปฏิบัติงานด้วยแผนงานหรอโครงการ ซึ่งจะต้องสอดประสาน
ี
และเชื่อมกันเพื่อความมีประสิทธิภาพของการด าเนินงาน โดยโรงเรยนควรน ามาตรการไปวางแผน
ในการปฏิบัติให้ต่อเนื่องและสอดคล้องกับบริบทของแต่ละโรงเรียน
ิ
สุภัทรา วุฒิเอ้ย (2552) ศึกษาเรื่อง กลยุทธ์การบรหารโรงเรยนอาชีวศึกษาเอกชนในจังหวัด
ี
เชียงใหม่ เป็นการศึกษาเชิงปรมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากลยุทธ์ทางการจัดการการศึกษา
ิ
ของโรงเรยนอาชีวศึกษาเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่ และ 2) ศึกษาปัญหาและอปสรรคในการจัด
ุ
ี
ี
การศึกษาของโรงเรยนอาชีวศึกษาเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา
ี
ู
ประกอบด้วย ผู้บรหาร คร และเจ้าหน้าที่ระดับหัวหน้างานโรงเรยนอาชีวศึกษาเอกชน ในจังหวัด
ิ
เชียงใหม่ จ านวน 140 คน ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้
1) โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่ มีกลยุทธ์ทางการจัดการศึกษาโดยมีการ
ี
ก าหนดปรชญาและเป้าหมายเป็นนโยบายในการพัฒนาโรงเรยนที่เน้นผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรยน มีการ
ั
ี
ั
ส ารวจความพึงพอใจของนักเรยนต่อคุณภาพการสอนของคร/อาจารย์ผู้สอน ปรบปรงระบบการ
ี
ุ
ู
เรียนการสอนให้ทันสมัยเพื่อดึงดูดผู้เรียน มีการด าเนินการจัดครูผู้สอนให้ปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับ
ู้
ี
ื
ื้
จรรยาบรรณ จัดท าระบบข้อมูล/เครอข่ายการเรยนรของโรงเรยนให้เออต่อการเรยนการสอน มีการ
ี
ี