Page 44 - 025
P. 44
44
ต่างๆ หรือผู้ปฏิบัติจะต้องน าไปใช้เป็นกรอบแนวคิด ในการตัดสินใจการท าแผนงาน โครงการและ
ก าหนดวิธีด าเนินงาน
ื
ู
ุ
สรปได้ว่า นโยบายอาจเป็นทั้งแม่แบบและรปแบบของการวางแผน หรอการวางแผนอาจ
เป็นทั้งแม่แบบและรปแบบของการก าหนดนโยบาย แต่โดยความจรงแล้วนโยบายเป็นแนวก าหนด
ู
ิ
ิ
็
กรรมวิธีของการวางแผนและการก าหนดโครงการต่างๆ เพื่อให้การบรหารงบประมาณผลส าเรจ
ตามวัตถุประสงค์ ในท านองเดียวกัน อาจกล่าวได้ว่า การวางแผนเป็นสิ่งที่ก่อให้มีการก าหนด
นโยบายในการบริหารงาน
2. ความหมายของการวางแผน
ิ
นักวิชาการด้านการบรหารได้ให้ความหมายของการวางแผนไว้ต่างๆ กัน แต่ในเนื้อหา
สาระแล้วไม่แตกต่างกันมากนัก ดังนี้
สมยศ นาวีการ (2536 : 65) ได้ให้ความหมายของการวางแผน ว่าเป็นกระบวนการขั้น
วางแผนที่เราตัดสินใจว่า เป้าหมายของเราคืออะไร และเราท าให้เกิดความส าเรจในเป้าหมายนั้น
็
อย่างไร
สมคิด บางโม (2539 : 28) มีความเห็นว่า การวางแผนคือการก าหนดเป้าหมายและแนวทาง
ปฏิบัติไว้ล่วงหน้า โดยการศึกษาข้อมูลต่างๆ และเลือกแนวทางปฏิบัติที่เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
องค์กร
ุ
ธีรจิต บุรษพัฒน์ (2541 : 17) ได้ให้ความหมายว่า การวางแผน หมายถึง การมองไปสู่
ั
อนาคตและเตรยมตัวส าหรบสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การวางแผน คือการคิดล่วงหน้าว่าจะท างาน
ี
ใด เรียกว่า เป็นความพยายามที่จะตอบค าถาม 3 ประการ ต่อไปนี้ ได้แก่
1. เราจะท างานอะไร
2. เราคาดว่าจะได้รับผลอะไร
3. อะไรคือวิธีที่ดีที่สุด
ุ
ิ
ี
สรปได้ว่า การวางแผนเป็นกระบวนการของผู้บรหารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เตรยมตัวใน
การจัดกิจกรรมที่จะด าเนินการต่อไปในอนาคต เพื่อให้การด าเนินการได้บรรลุวัตถุประสงค์และ
เป้าหมายที่ก าหนดไว้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด น าไปสู่ความส าเร็จของหน่วยงานหรือองค์กรนั้นๆ