Page 42 - 025
P. 42
42
ิ
ของศาสนาอสลาม โดยมีแบบอย่างจากท่านท่านศาสดามุฮัมมัด และตามหลักค าสอนใน
อัลกุรอาน และอัลฮะดีษ เพื่อพัฒนามุสลิมให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งด้านรางกาย สติปัญญา และจิต
่
วิญญาณ
แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผน
็
การวางแผนเป็นการก าหนดรปแบบกระบวนการของแผนงาน ที่มุ่งความส าเรจใน
ู
อนาคต โดยค านึงถึงจุดมุ่งหมายรวมขององค์กร เป้าประสงค์ขององค์กรที่ชัดเจน นักวิชาการได้ให้
ความหมาย ดังนี้
1. แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการวางแผน
ิ
การวางแผนเป็นการก าหนดทิศทางการด าเนนงาน โดยมีการก าหนดบทบาทหน้าที่ของ
ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างเป็นระบบ การวางแผนเป็นเครื่องมือส าคัญยิ่งในการบริหารและพัฒนา
การศึกษาของโรงเรียน ซึ่งมีนักวิชาการ นักการศึกษา และนักบริหารได้กล่าวถึงหลักการ แนวคิด
ตลอดจนความหมายและความส าคัญไว้ดังนี้
สาโรจน์ โอพิทักษ์ชีวิน (2546 : 120) กล่าวว่า การวางแผน (Planning) เป็นสะพานเชื่อม
ระหว่างปัจจุบันกับอนาคต และมีผลเพิ่มความส าเรจตามที่องค์กรต้องการ การวางแผนเป็น
็
กระบวนการที่มีผลท าให้งานต่างๆที่ท ามีประสิทธิผลเพื่อที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ และการวางแผน
ี
ั
เป็นการเตรยมตัวส าหรบการแก้ปัญหาข้อยุ่งยากที่จะเผชิญด้วยทรพยากรที่มีอยู่อย่างจ ากัด การ
ั
ิ่
วางแผนเป็นขั้นตอนเรมต้นด้วยกระบวนการและช่วยให้องค์กรสามารถท าความฝันให้เป็นความ
จริง และการวางแผนจะช่วยหลีกเลี่ยงการท างานอย่างหนักแลกกับผลลัพธ์ที่ได้ไม่คุ้มค่า
ั
สนานจิตร สุคนธทรพย์ (2534 : 38 – 40) ให้ค าจ ากัดความที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนว่า
แผนคือสิ่งที่คัดเลือกมาแล้ว เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ต้องการและให้สอดคล้องกับ
ื
ความสามารถด้านก าลังเงินและทรพยากรอนๆ หรอ ในความหมายอย่างแคบ แผนเป็นเอกสาร ซึ่ง
ั
ื่
แสดงถึงสิ่งที่จะด าเนินการในอนาคต ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ (เพื่อให้เกิดอะไร) นโยบาย (แนว
ทางการด าเนินงาน) เป้าหมาย (จะท าเท่าไรให้เกิดคุณภาพอย่างไร) วงเงิน (ใช้งบประมารเท่าไร)
และมาตรการ (วิธีการที่จะท าให้แผนบรรลุวัตถุประสงค์) ทั้งนี้ ก่อนจะมีการก าหนดวัตถุประสงค์
และนโยบายจะต้องการประเมินผลการด าเนินงานในช่วงที่แล้วมา มีการระบุสภาพปัจจุบัน และ
สภาพที่ต้องการในอนาคต