Page 39 - 0018
P. 39
31
ทำการศึกษาข้อมูลในทุกด้านของบุคคล นำมารวบรวมและจัดให้เป็นระบบ เพื่อใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์
สังเคราะห์ และวินิจฉัยปัญหา ช่วยให้มองเห็นบุคลิกภาพรวมของบุคคล จนสามารถเข้าใจถึงธรรมชาติของบุคคล
และสาเหตุของปัญหาอย่างชัดเจน นำข้อมูลมาพิจารณาวางแผนการดำเนินงาน กิจกรรมในการพัฒนาทักษะอาชีพ
ได้ทำการแนะแนวรายบุคคล เนื่องด้วยสภาพปัญหาหรือความต้องการที่จำเป็นของแต่ละรายมีความแตกกต่างกัน
ทำให้บุคคลเกิดการพยายามแก้ไขและพัฒนาสภาพชีวิตของตนให้สามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ื้
ประสิทธิภาพ สามารถสรุปการวิเคราะห์ปัญหา และความต้องการของคนจนในพนที่ ดังตารางที่ 4-1
ตารางที่ 4-1 แสดงผลการวิเคราะห์ปัญหา และความต้องการของคนจนในพื้นที่ กลุ่มอาชีพเดิม และอาชีพใหม่
กลุ่มอาชีพ ปัญหา ความต้องการ
กลุ่มอาชีพเดิม
- การทำนา - พื้นที่นากลายเป็นนาร้าง - ฟื้นฟูนาร้าง
- ขาดเครื่องมือทางการเกษตร (ทำนา - ฟื้นฟูนาร้าง) - ความต้องการในด้านความรู้ ทักษะในการ
บางส่วนขาดการเก็บพันธุ์ข้าว ขาดธนาคารข้าวที่ ทำนาแบบประณีต คัดเมล็ดพันธุ์ การแปรรูป
ครบวงจรขาดความรู้ในการยกระดับผลิตภัณฑ์ที่ และการเพิ่มพูนรายได้ ทำให้สามารถคิดเป็น
เกี่ยวกับข้าว (อย. มผช. ฮาลาล)
กิจกรรมในการฟื้นฟูนาร้าง
- ทำการเกษตร - การทำเกษตรครัวเรือนยังไม่ครอบคลุม
(ปลูกผัก)
- ขายอาหาร- - รถเข็นในการค้าขายชำรุด - เกิดการรวมกลุ่มผลิต/การตลาด พึ่งพาซึ่งกัน
ขนมพื้นบ้าน - สถานที่ในการรับประทานอาหารที่ร้านไม่เหมาะสม และกันของชุมชนเอง
- ขาดโรงเรือนสำหรับทำอาหาร - อุปกรณ์ในการประกอบอาชีพ
- ขาดวัสดุอุปกรณ์ในการทำขนมและอาหาร - ปรับปรุงสถานที่ผลิต/แปรรูป
- ขาดตลาดในการขายขนมและอาหารและขาด
ช่องทางการตลาดใหม่ๆ
- ขาดความรู้ในการใหม่ๆในการเตรียมอาหารและ
บรรจุภัณฑ์
- บริเวณชุมชนไม่มีแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับการประกอบ
อาชีพการทำขนมพื้นบ้าน
- การตัดเย็บ - ขาดลายผ้าที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน - ความรู้ ทักษะในการตัดเย็บ รูปแบบใหม่
(เสื้อผ้า) - ขาดความรู้ในการตัดเย็บแบบอื่น ๆ เช่น การตัด และต้องการอุปกรณ์การตัดเย็บ
เย็บผ้าคลุมที่มีอัตลักษณ์เป็นของชุมชน
กลุ่มอาชีพใหม่ - ความต้องการในด้านความรู้ และทักษะ
- เลี้ยงปลาสลิด - ขาดวามรู้ในเรื่องการเลี้ยงปลาน้ำจืด ในด้านการเลี้ยงปลาสลิดดอนนา
ดอนนา - การรวมกลุ่มของสมาชิก