Page 77 - 2558
P. 77
ครั้ง ผลของกระบวนการท างานและข้อก าหนดต่างๆ ที่น ามาปรับปรุงจะถูกถ่ายทอดไปยังบคลากรในที่ประชม
ุ
ุ
ปีละ 2 ครั้ง และถ่ายทอดผ่านช่องทางสื่อสารใน [1.1ข(1)] ภาพประกอบที่ 1.1-05 การสื่อสารและสร้างความ
ผูกพันกับบุคลากรและผู้ใช้บริการที่ส าคัญ เพื่อให้บุคลากรรับทราบและน าไปปฏิบัติ
(2) แนวคิดในการออกแบบ
้
ส านักวิทยบริการใช SIPOC Model เป็นแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการท างาน โดยน า
ระบบงานที่ส าคัญของส านักวิทยบริการ (OAR Work System) ในภาพประกอบที่ 2.1-x เป็นองค์ประกอบใน
กระบวนการท างานใน SIPOC Model และใชปัจจัยน าเข้า 4 ด้าน คือ (1) ข้อมูลความต้องการและความ
้
คาดหวังของผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (2) ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ (3) สมรรถนะหลักขององค์กร
และ (4) ปัจจัยภายในและภายนอกที่ส่งผลกระทบต่อการด าเนินงาน มาเป็นข้อมูลในการออกแบบและการ
ี่
จัดการกระบวนการท างานทส าคัญของส านักวิทยบริการ โดยมีรูปแบบการออกแบบกระบวนการท างาน การ
พิจารณาและมอบหมายผู้รับผิดชอบหลักของแต่ละกระบวนการอันน าไปสู่การปฏิบัติ พร้อมทบทวนและ
ปรับปรุงกระบวนการท างานที่ส าคัญจากผลลัพธ์ 7.1ก, 7.1ข(2) น าไปสู่การปรับปรุงผลิตภัณฑ์และ
กระบวนการใน [6.1ข(3)} ดังรายละเอียดในภาพประกอบที่ 6.1-02
นอกจากใช้ SIPOC Model ในการออกแบบกระบวนการท างานแล้ว ส านักวิทยบริการยังใช้ PDCA-Par ในการ
น ากระบวนการไปปฏิบัติ และใช้ LEAN, Kaizen และ Six Sigma เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงกระบวนการ
ท างาน รายละเอียดภาพประกอบที่ 6.1-03
รายงานวิธีการและผลการด าเนินงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ 2558 ส านักวิทยบริการ ม.อ.ปัตตานี
69