Page 78 - 2558
P. 78
ข. การจัดการกระบวนการ
(1) การน ากระบวนการไปปฏิบัติ
ส านักวิทยบริการน ากระบวนการ SIPOC Model เป็นกรอบในการด าเนินงานตามวงจร PDCA-Par และ
ุ
ุ
ี้
ถ่ายทอดเพื่อน าไปสู่การปฏิบัติผ่านที่ประชมหัวหน้ากลุ่มงานและที่ประชมบุคลากร โดยมีการก าหนดตัวชวัด
ั
ระดับฝ่ายและระดับบุคคล อย่างเป็นระบบและชดเจน ส่วนการปฏิบัติงานประจ าวันนั้น ส านักวิทยบริการได้
้
ก าหนดมาตรฐานภาระงานประจ าวันของแต่ละงาน ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ ใชระบบบันทึกการ
ปฏิบัติงานประจ าวัน ใชสถิติในระบบงานห้องสมุดอัตโนมัติ ฝ่ายส านักงานเลขานุการ ใชสถิติในระบบงานสาร
้
้
ิ
้
บรรณ งานการเงนและพัสดุ ส่วนฝ่ายเทคโนโลยีการศึกษา ใชระบบบันทึกการปฏิบัติงานประจ าวัน (Log
Book) ทั้งนี้หัวหน้ากลุ่มงาน/หัวหน้าฝ่ายติดตามผลการปฏิบัติงานประจ าวัน ติดตามผลการด าเนินงานตาม
ตัวชี้วัดของผลิตภัณฑ์ทุก 3 เดือน และประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล (TOR) (ตัวชี้วัดการด าเนินงาน) ทุก
6 เดือน เพื่อน าผลการประเมินการปฏิบัติงานไปปรับปรุงกระบวนการท างานให้มีประสิทธิภาพและมีผลิตภัณฑ์
บริการเพิ่มขึ้น (ผลลัพธ์ 7.1ก, 7.1ข)
(2) กระบวนการสนับสนุน
ส านักวิทยบริการก าหนดกระบวนการสนับสนุนไว้ 8 กระบวนการ ดังภาพประกอบที่ 2.1-03 OAR Work
System โดยน าวิสัยทัศน์ พันธกิจ [1.1ก] กระบวนการหลัก (Core Process) และแผนกลยุทธ์ส านักวิทย
บริการ พ.ศ.2556-2560 มาใช้ในการก าหนดกระบวนการสนับสนุน แต่ละกระบวนการสนับสนุน มี
คณะกรรมการ/คณะท างานเป็นองค์ประกอบ ทาหน้าที่วางแผน ตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงานตาม
ข้อก าหนดของกระบวนการสนับสนุนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัด ดังภาพประกอบที่ 6.1-04
รายงานวิธีการและผลการด าเนินงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ 2558 ส านักวิทยบริการ ม.อ.ปัตตานี
70