Page 65 - 2558
P. 65
เพื่อสนับสนุนและมุ่งเน้นลูกค้าและการบริการที่เป็นเลิศ ส านักวิทยบริการมีการก าหนด KPIs ที่เกี่ยวกับลูกค้า
ได้แก่ ตัวชวัดความพึงพอใจผู้ใชบริการและตัววัดความผูกพันผู้ใชบริการ โดยมีระบบประเมินความพึงพอใจ
ี้
้
้
้
ของผู้ใชบริการซึ่งชวยให้ทุกฝ่ายสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการหรือลูกค้าและแก้ไขปัญหาให้
่
ผู้ใช้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนเพื่อให้ผลการด าเนินงานเหนือความคาดหมาย ส านักวิทยบริการ
ี้
น าเครื่องมือ PDCA-Par และ SIPOC การจัดการความเสี่ยง การประเมินผลการปฏิบัติงาน (TOR Online) ใน
การประเมินการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีการยกย่องชมเชยบุคลากรที่มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมากและดีเด่น
มีระบบการคัดเลือกบุคลากรดีเด่นที่ยุติธรรมและโปร่งใส
(4) การจัดการการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
หลังจากที่ได้มีการประเมินขีดความสามารถของบุคลากรและอัตราก าลัง ตามแนวทางการประเมินขีด
ความสามารถของบุคลากร (ภาพประกอบที่ 5.1-02) และผลการวิเคราะห์อัตราก าลังตามกรอบแนวคิดในการ
ก าหนดกรอบอัตราก าลัง (ภาพประกอบที่ 5.1-03) ส านักวิทยบริการมีการเตรียมบุคลากรให้พร้อมรับต่อการ
เปลี่ยนแปลงความต้องการด้านขีดความสามารถผ่านกระบวนการประเมินศักยภาพ “Competency” ที่
องค์กรได้จัดไว้ 3 กลุ่ม คือ สมรรถนะทั่วไป สมรรถนะวิชาชพเฉพาะ และสมรรถนะบริหาร โดยน าผลการ
ี
บริหารความต้องการของบุคลากร (ศึกษาความต้องการ จ านวนการลาออก การสื่อสารของผู้บริหาร) ภารกิจ
หลัก ภารกิจรอง วตถุประสงค์เชงกลยุทธ์ ใชในการก าหนดมาตรฐานความสามารถที่ต้องการ/ในการก าหนด
ิ
้
ั
ิ
ี
เกณฑ์ที่คาดหวังของต าแหน่งทั่วไป วชาชพเฉพาะ และผู้น าในอนาคต ด้วยเครื่องมือการประเมินศักยภาพ
บุคลากร จากผลการประเมินศักยภาพของบุคลากร ผู้บริหารและคณะกรรมการบริหารงานบุคคลก าหนด
ล าดับความส าคัญ 3 ล าดับใน (1) สมรรถนะที่ต้องได้รับการพัฒนา (2) เป้าหมายการพัฒนา (3) เครื่องมือและ
่
วิธีการพัฒนา (4) ชวงเวลาที่ต้องการพัฒนา (5) เหตุผลหรือความส าคัญของการพัฒนา และ (6) งบประมาณ
ส าหรับการพัฒนาความสามารถรายบุคคลตามแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (Individual Development
Plan: IDP) และสื่อสารให้บุคลากรรับทราบแผนพัฒนารายบุคคล และสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรมีส่วนร่วมใน
รายงานวิธีการและผลการด าเนินงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ 2558 ส านักวิทยบริการ ม.อ.ปัตตานี
57